Page 205 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 205

ผู้นำ​และ​การ​จูงใจ 5-25

ตาราง​ท่ี 5.2 แบบพ​ ฤติกรรมผ​ ูน้ ำท​ ีเ​่ หมาะ​สมในส​ ถานการณ์​ตา่ งๆ

                 สถานการณ์                              แบบผนู้ ำทเ่ี หมาะสม
                                                   แบบชี้นำ
งานซับซ้อน                                         แบบสนับสนุน
ผู้ปฏิบัติงานขาดประสบการณ์
ขาดกฎระเบียบชี้นำการทำงาน                          แบบให้มีส่วนร่วม

งานซ้ำซากจำเจและงานที่มีความกดดันสูง               แบบมุ่งความสำเร็จ
ผู้ปฏิบัติงานขาดความมั่นใจ

โครงสร้างงานไม่ชัดเจนแน่นอน
ผู้ปฏิบัติงานมีความสามารถและประสบการณ์
ผู้ปฏิบัติงานต้องการมีส่วนร่วม

โครงสร้างไม่ชัดเจนแน่นอน
หน่วยงานไม่เน้นกฎระเบียบ
ผู้ปฏิบัติงานมีความเชื่อมั่นและมุ่งผลสำเร็จของงาน

1. การป​ ระยกุ ต​ใ์ ช​ท้ ฤษฎี​ของ​ฟดี เ​ลอร​ ์

       ในก​ ารใ​ช้ท​ ฤษฎีข​ องฟ​ ีดเ​ลอร​ ์น​ ั้น ขั้นแ​ รกผ​ ู้บ​ ริหารต​ ้องร​ ู้จักว​ ิเคราะห์ส​ ถานการณ์ใ​ห้ถ​ ูกต​ ้องว​ ่าสถานการณ์ข​ ณะ​
นั้น​เอื้อ​อำนวย​ต่อ​ผู้​บริหาร​มาก​น้อย​แค่​ไหน​ใน​การ​ที่​จะ​ใช้​อิทธิพล​ควบคุม​การ​ทำงาน​ของ​ผู้​อื่น หลัง​จาก​นั้น​จึง​เลือก​ใช้​
บคุ ลกิ ใ​หเ​้ หมาะส​ มก​ บั ส​ ถานการณ์ แตถ​่ า้ ผ​ บู​้ รหิ ารร​ ูส้ กึ ว​ า่ เ​ปน็ การย​ ากห​ รอื ฝ​ นื ต​ วั เ​องท​ จี​่ ะป​ รบั บ​ คุ ลกิ ใ​หเ​้ ขา้ ก​ บั ส​ ถานการณ์
ผบู​้ รหิ ารค​ วรป​ รบั ส​ ถานการณใ​์ หเ​้ ขา้ ก​ บั บ​ คุ ลกิ ข​ องต​ นเองจ​ ะง​ า่ ยก​ วา่ เพราะผ​ บู​้ รหิ ารห​ ลายค​ นม​ บ​ี คุ ลกิ โ​นม้ เ​อยี งไ​ปแ​ บบใ​ด​
แบบห​ นึง่ (มุง่ ค​ นห​ รอื ม​ ุง่ ง​ าน) จนย​ ากท​ จี​่ ะป​ รบั เ​ปลีย่ นไ​ปใ​ชอ​้ กี แ​ บบห​ นึง่ ฟดี เ​ลอร​ ไ​์ ดเ​้ สนอว​ ธิ ก​ี ารป​ รบั เ​ปลีย่ นห​ รอื ค​ วบคมุ ​
สถานการณใ​์ หเ​้ อือ้ ต​ อ่ บ​ คุ ลกิ ผ​ ูน้ ำโ​ดยก​ ารป​ รบั เ​ปลีย่ นป​ จั จยั ใ​ดป​ จั จยั ห​ นึง่ ใ​น 3 ปจั จยั ท​ เี​่ ปน็ ต​ วั ก​ ำหนดส​ ถานการณน​์ ัน่ เอง
เช่น ถ้าค​ วามส​ ัมพันธ์ร​ ะหว่างผ​ ู้นำก​ ับผ​ ู้ต​ ามไ​ม่ด​ ี (ปัจจัยส​ ถานการณข์​ ้อแ​ รกใ​นท​ ฤษฎีข​ องฟ​ ีดเ​ลอร​ ์) ผู้นำก​ ็ค​ วรแ​ วะเ​วียน​
ไปพ​ ดู ค​ ยุ ส​ ังสรรคท​์ ำความเ​ข้าใจก​ ับผ​ ตู​้ ามใ​หม้​ ากข​ ึน้ เ​พื่อใ​หส​้ ถานการณด์​ ข​ี ึ้น หรือถ​ ้าโ​ครงสรา้ งข​ องง​ านไ​มช​่ ัดเจน (ปจั จยั ​
สถานการณ์​ข้อส​ อง) ผู้บ​ ริหาร​ก็​ควรเ​รียก​ประชุม​ผู้​ที่​เกี่ยวข้อง​เพื่อ​กำหนดร​ าย​ละเอียดใ​ห้​ชัดเจน​ขึ้น เป็นต้น

2. การป​ ระ​ยกุ ตใ​์ ช​้ทฤษฎขี​ อง​เฮาส​ ์​และม​ ทิ เชล

       ในก​ ารใ​ชท้​ ฤษฎขี​ องเ​ฮาส​ แ​์ ละม​ ทิ เชล​ นั้น ขั้นแ​ รกผ​ บู​้ ริหารต​ ้องร​ ูจ้ กั ว​ ิเคราะหส์​ ถานการณก​์ ่อนว​ ่าส​ ถานการณเ​์ ปน็ ​
แบบ​ใด​ตาม​ที่​ตัว​ทฤษฎี​ให้​แนวทาง​ไว้ หลัง​จาก​นั้น​ผู้​บริหาร​จึง​ควร​ปรับ​พฤติกรรม​ให้​เหมาะ​กับ​สถานการณ์​ต่างๆ ตาม​
แนวทางท​ ี่ว​ างไ​ว้เ​ช่นก​ ัน เช่น หลังจ​ ากว​ ิเคราะห์​ปัจจัย​ด้านส​ ถานการณ์​ต่างๆ แล้วพ​ บว​ ่าง​ านป​ ระจำว​ ันม​ ีค​ วาม​ซ้ำซากแ​ ละ​
ความก​ ดดันใ​นเ​รื่องเ​วลาส​ ูง (งานเ​ร่งด​ ่วน) ประกอบก​ ับผ​ ู้ป​ ฏิบัติง​ านย​ ังใ​หม่แ​ ละข​ าดป​ ระสบการณ์ ในส​ ถานการณ์เ​ช่นน​ ี้​
ผู้นำก​ ค็​ วรม​ พี​ ฤติกรรมแ​ บบส​ นับสนุนค​ ือค​ อยแ​ นะนำส​ องง​ านแ​ ละใ​หก้​ ำลังใ​จจ​ ะเ​ห็นไ​ดว้​ ่าท​ ฤษฎขี​ องเ​ฮาส​ แ์​ ละม​ ิทเชล​ นั้น​
เป็นเ​รื่องข​ องก​ ารป​ รับพ​ ฤติกรรมใ​หเ้​ข้าก​ ับส​ ถานการณเ์​พราะเ​ขาท​ ั้งส​ องเ​ห็นว​ ่าการป​ รับใ​นล​ ักษณะด​ ังก​ ล่าวก​ ระทำไ​ดง้​ ่าย​
กว่า​การป​ รับ​เปลี่ยน​บุคลิกใ​ห้เ​ข้า​กับ​สถานการณ์

       												

ลิขสทิ ธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210