Page 198 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 198
5-18 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์
การป ระยุกต์ใช้
แม้แนวการศึกษาพฤติกรรมผู้นำจะมีปัญหาบางประการ แต่ความคิดจากแนวทางนี้ก็ได้นำไปใช้เรื่องการ
พัฒนาบุคลากรโดยเฉพาะก ารพัฒนาความเป็นผู้นำให้กับผู้บริหาร กล่าวโดยย่อก็คือความเป็นผู้นำเป็นเรื่องท ี่เรียนรู้
และพัฒนากันได้นั่นเอง นี่คือข้อสนับสนุนในทางทฤษฎีของโครงการฝึกอบรมหรือพัฒนาความเป็นผู้นำซึ่งมุ่งหวังที่
จะปรับปรุงห รือเพิ่มพูนค วามเป็นผู้นำให้ก ับพ นักงานหรือผู้บังคับบ ัญชาในหน่วยงาน
หลักสูตรฝึกอบรมหรือพัฒนาความเป็นผู้นำหลายหลักสูตร ได้นำแบบพฤติกรรมผู้นำซึ่งค้นพบโดยกลุ่ม
โอไฮโอสเตทและเบลคกับมูตันไปใช้เป็นแม่แบบในการฝึกอบรมหรือพัฒนาพฤติกรรมผู้นำแบบต่างๆ โดยมีจุดเน้น
ที่แตกต ่างกัน ดังนี้
(ก) แบบมุ่งง าน มีจุดเน้นที่จะส ร้างผลงานให้แก่ห น่วยง านเป็นหลัก
(ข) แบบมุ่งค น มีจุดเน้นที่จะส ร้างค วามพ ึงพ อใจให้แก่ผู้ปฏิบัติง านเป็นหลัก
(ค) แบบมุ่งง านและมุ่งค น มีจุดเน้นท ั้งส ร้างผลงานแ ละความพ ึงพ อใจให้แก่ผ ู้ปฏิบัติงาน
ดังนั้น การจะใช้แนวคิดนี้จึงขึ้นอยู่กับผู้บริหารว่าต้องการเน้นที่จะสร้างสิ่งใดเป็นหลักให้แก่หน่วยงาน เช่น
ถ้ามีผ ลงานตกต่ำมากจนผู้บ ริหารคนเดิมถูกป ลดอ อก ผู้บริหารซ ึ่งมารับง านใหม่อาจต ้องเลือกใช้พ ฤติกรรมผู้นำแบบ
มุ่งงานเพื่อเน้นก ารย กระดับผลงานของหน่วยง าน
3. แนวการศกึ ษาด ้านสถานการณ์
จากข้อจำกัดบางประการของแนวการศึกษาพฤติกรรมผู้นำ ทำให้นักวิชาการในช่วงทศวรรษที่ 1960 เบน
ความสนใจมาศึกษาแนวทางสถานการณ์ผู้นำมากขึ้น โดยพยายามศึกษาหาคำตอบว่ามีปัจจัยด้านสถานการณ์อะไร
บ้างที่ผู้นำต้องเรียนรู้และปรับตัวให้เข้ากันได้ ผู้เขียนขอนำทฤษฎี 2 ทฤษฎีของนักวิชาการในกลุ่มนี้มาพิจารณาเพื่อ
ประโยชน์ต่อการศึกษาทำความเข้าใจในเบื้องต้น เพราะ 2 ทฤษฎีนี้มีความเกี่ยวข้องกับแนวการศึกษาคุณลักษณะ
และแนวก ารศึกษาพ ฤติกรรมผ ู้นำ ดังนี้
3.1 ทฤษฎสี ถานก าร ณข์ องฟ ดี เลอร ์ (Fiedler Contingency Model) ฟีดเลอร ไ์ดเ้ริ่มต ้นศ ึกษาค ้นคว้าท ฤษฎนี ี้
ตั้งแต่ ค.ศ. 1953 และใช้เวลาศึกษาค ้นคว้าอยู่น านน ับสิบปีจนในป ี ค.ศ. 1967 เขาได้เขียนร ายงานผลการศ ึกษาไว้ใน
หนังสือท ี่มีชื่อเสียงม ากเล่มห นึ่ง ชื่อ “ทฤษฎีผ ู้นำป ระสิทธิผล” (A Theory of Leadership Effectiveness) ผู้เขียน
ขอแยกอธิบายทฤษฎีของฟ ิดเลอร์อ อกเป็น 3 ส่วน คือ
1) ส่วนท ี่เกี่ยวก ับบุคลิกผ ู้นำ
2) ส่วนที่เกี่ยวก ับปัจจัยส ถานการณ์
3) ตัวแ บบข องฟีดเลอร์
ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช