Page 194 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 194
5-14 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์
Y
สูง
มุ่งค น
ต่ำ
ต่ำ มุ่งง าน X
สูง
ภาพท่ี 5.1 แงม่ มุ พ ฤติกรรมผ ู้นำ 2 มิติท่ีแ ยกจากก ันเป็นอ ิสระ (two-dimensional view)
จากภ าพท ี่ 5.1 จะเห็นได้ว ่าพ ฤติกรรมผ ู้นำแบบม ุ่งงานแ ละม ุ่งค นจะแยกก ันอยู่คนละแกนโดยแบบม ุ่ง
งานจะอยู่บนแกน X แบบมุ่งคนจะอยู่บนแกน Y จากการที่คณะผู้วิจัยพบแบบพฤติกรรมผู้นำพื้นฐานสองแบบแยก
จากก ันเป็นอ ิสระอ ยูบ่ นแ กนค นละแ กน ผลก ค็ ือส ามารถเขียนพ ฤติกรรมผ ู้นำอ อกไดเ้ป็น 4 แบบ ใหญ่ๆ ดังแสดงไว้ใน
ภาพท ี่ 5.2
สูง
2. มุ่งคนส ูง 3. มุ่งง านส ูง
และ และ
มุ่งง านต ่ำ มุ่งค นส ูง
มุ่งคน
1. มุ่งงานต ่ำ 4. มุ่งง านส ูง
และ และ
มุ่งค นต ่ำ มุ่งค นต ่ำ
ต่ำ สูง
ต่ำ มุ่งงาน
ภาพท่ี 5.2 แบบพ ฤติกรรมผ นู้ ำ 4 แบบใหญๆ่ ของกลมุ่ โอไฮโอส เตท
โดยสรุปก็คือ คณะผู้วิจัยของโอไฮโอสเตทเห็นว่าพฤติกรรมผู้นำเป็นผลจากการผสมผสานระหว่าง
แบบพฤติกรรมพื้นฐานสองแบบที่เป็นอิสระจากกันจนเกิดเป็นพฤติกรรมผู้นำแบบต่างๆ ตามปริมาณมากน้อยของ
พฤติกรรมพ ื้นฐานแ ต่ละแ บบ
ค. ในตอนแรกคณะผู้วิจัยชุดนี้สรุปว่า ผู้นำท่ีมีประสิทธิผลที่สุดคือผู้นำท่ีมีพฤติกรรมแบบมุ่งงานสูง
และมุ่งคนสูง เพราะหลักฐานจากการศึกษาวิจัยในเบื้องต้นพบว่าพฤติกรรมผู้นำแบบดังกล่าวทำให้ผลผลิตของกลุ่ม
สูงขึ้น ผู้ปฏิบัติง านม ีค วามพ อใจมากข ึ้น สถิติก ารข าดง านแ ละล าออกล ดน ้อยล ง อย่างไรก็ตาม การศ ึกษาว ิจัยในระยะ
ลขิ สทิ ธิ์ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช