Page 50 - สังคมโลก
P. 50

6-10 สังคมโลก

ได้ประโยชน์โดยตรงจากการนั้น นั่นก็คือ ขุนนาง (หรืออาจจะเรียกได้ว่า กลุ่มชนชั้นนำ�) จำ�นวนมากอาจจะหัน	
ปลายอาวุธเข้าหาผู้นำ� หากไม่มีกิจกรรมภายนอกมาเบี่ยงเบนความสนใจ13 กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ จักรวรรดินิยมเป็น
ผลมาจากพวกนักรบ ซึ่งในอดีตถือกำ�เนิดมาจากความจำ�เป็นของสงคราม แต่ภายหลังกลุ่มคนเหล่านี้กลับก่อสงคราม
เพื่อให้สถานะของพวกตนดมู คี วามจ�ำ เป็นในการดำ�รงอยู่ตอ่ ไป14  นอกเหนือจากทัศนะดงั กล่าวข้างต้น ได้มกี ารพฒั นา
แนวทางการวิพากษ์วิจารณ์ทุนนิยมและจักรวรรดินิยมอีกมากมายโดยเฉพาะในช่วงทศวรรษ 1960 และทศวรรษ	
1970 แต่ด้วยพื้นที่อันจำ�กัดผู้ศึกษาจึงไม่ขอนำ�มากล่าวถึงไว้ในที่นี้

       กล่าวได้ว่า การศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับนิยามและพัฒนาการของจักรวรรดินิยม เป็นเรื่องที่ยากจะหลีกเลี่ยง
มิติด้านเศรษฐกิจในฐานะตัวแปรในการก�ำ หนดทิศทางนโยบายการเมือง ซึ่งรวมถึงการขยายพื้นที่ของชาติตะวันตก	
ในแต่ละยุคสมัย แต่ด้วยความที่มิติด้านเศรษฐกิจเป็นกิจกรรมหนึ่งในชีวิตมนุษย์และความเป็นไปของสังคม	
สภาพแวดล้อมทั้งทางภูมิศาสตร์กายภาพและสังคม จึงควรได้รับการพิจารณาควบคู่กันไปด้วย ผู้เขียนจะอาศัย
แนวทางดังกล่าวในการกำ�หนดกรอบบรรยายเนื้อหาของหน่วยนี้ว่า มิติด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมใน
แต่ละยุคสมัย โดยเฉพาะในสองมิติแรกมีส่วนกำ�หนดว่า ชาติใดในตะวันตกจะขึ้นเป็นเจ้าจักรวรรดินิยม และ	
เจ้าจกั รวรรดินยิ มเหล่านี้ด�ำ เนินนโยบายอย่างไร เพื่อพยายามรักษาสถานภาพของตน แมแ้ ท้จริงนัน้ สถานภาพดงั กลา่ ว
จะมีการเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละยุคสมัยก็ตามที่

  กิจกรรม 6.1.1
         จงอธิบายทม่ี าและความหมายของค�ำ ว่า จักรวรรดนิ ยิ ม

  แนวตอบกิจกรรม 6.1.1
         ค�ำ วา่ จกั รวรรดนิ ยิ ม (Imperialism) มที มี่ าจากภาษาลาตนิ ทเี่ ชอ่ื มโยงไปถงึ ความหมายของค�ำ วา่ อาณานคิ ม

  ซึ่งกินความถึงการออกไปตั้งและพัฒนาชุมชนในดินแดนนอกดินแดนของตน ในลักษณะท่ีว่า ชุมชนเหล่าน้ีอยู่
  ภายใต้โครงสร้างความสัมพันธ์เชิงอำ�นาจท่ีเป็นไปอย่างไม่เท่าเทียมของจักรวรรดิ เช่น การท่ีชาวโรมันเข้าไปต้ัง
  ชมุ ชนในเกาะอังกฤษ หรอื การทช่ี าวยโุ รปเขา้ ไปต้งั ชมุ ชนในทวีปอเมริกา ชุมชนเหล่านี้มิได้เปน็ เพยี งหนว่ ยผลติ
  ทางเศรษฐกจิ โดยเฉพาะนบั แตก่ ารปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรมเปน็ ตน้ มา แตย่ งั เปน็ ทงั้ แหลง่ สนบั สนนุ ดา้ นวตั ถดุ บิ แหลง่
  ระบายสนิ คา้ และรองรบั การลงทนุ จากกำ�ไรสะสมของประเทศเจา้ อาณานคิ ม เพอื่ สนบั สนนุ ใหศ้ นู ยก์ ลางอำ�นาจ
  เตบิ โตและแขง็ แกรง่ พอท่ีจะธำ�รงโครงสร้างอำ�นาจที่ไมเ่ ทา่ เทยี มอยูต่ อ่ ไป

	 13 	Joseph Schumpeter. (1951/1966). ibid, pp. 33-64, John Markoff (2007) op, cit., p. 613.	
	 14 	Bert Hoslitz. (1966). ‘Introduction’ in Joseph Schumpeter (1951/1966). Imperialism and Social Classes. Cleveland
and New York: Meridian Book, p. vii	

                             ลิขสทิ ธ์ขิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55