Page 85 - สังคมโลก
P. 85

จักรวรรดินิยม 6-45

ผนู้ �ำ สหภาพโซเวยี ต เพอื่ ปอ้ งกนั ความผดิ พลาดทอี่ าจจะเกดิ ขนึ้ 155 หลงั จากทสี่ หภาพโซเวยี ตแสดงทา่ ทแี ขง็ กรา้ วใน ค.ศ.
1961 นี้เองที่ความขัดแย้งในยุโรปทำ�ท่าว่าจะรุนแรงขึ้นอีกครั้ง เมื่อเกิดวิกฤตการณ์เบอร์ลินที่นำ�ไปสู่การสร้างกำ�แพง
เบอรล์ นิ (the Berlin Wall) เพือ่ ปดิ ลอ้ มเบอรล์ นิ ตะวนั ตก ดว้ ยหวงั จะสกดั กัน้ การไหลบา่ เขา้ สูต่ ะวนั ตกของชาวเยอรมนั 	
ตะวันออก156

       เสียงเรียกร้องของอดีตประเทศอาณานิคม ที่ต้องการให้หลักการกำ�หนดความเป็นไปของตนเองเกิดขึ้นจริง
ยังคงเป็นไปอย่างต่อเนื่องในเอเชีย (โดยเฉพาะอินโดจีน) ตะวันออกกลาง และแอฟริกา (เช่นในกรณีของอิสราเอล
ไนจีเรีย โมซัมบิก แอฟริกาใต้ และโรดีเซีย)157 ซึ่งได้กลายเป็นการเคลื่อนไหวแบบกองโจรเพื่อต่อต้านรัฐบาลโดย
เฉพาะที่ได้รับการสนับสนุนจากตะวันตก การเคลื่อนไหวเช่นนี้ได้รับอิทธิพลมาจากความส�ำ เร็จของพรรคคอมมิวนิสต์
จีน สหรัฐอเมริกาในสมัยประธานาธิบดีที่จอห์น เอฟ เคนเนดี้ (John F Kennedy, 1917-1963) ได้เข้าไปเกี่ยวข้อง
กับฝ่ายต่อต้านคอมมิวนิสต์ในหลายพื้นที่ในลักษณะของการสนับสนุนการทำ�สงครามแบบจำ�กัด โดยอาศัยหน่วยรบ
พิเศษที่รู้จักกันในนามของหน่วย “Green Beret” เป็นหน่วยหลักในการเข้าทำ�สงคราม เช่น ในกรณีของเวียดนาม158

       สงิ่ ทีย่ ากจะปฏเิ สธกค็ อื แอฟรกิ าเปน็ ทวปี ทีค่ วามขดั แยง้ เกดิ ขึน้ ในวงกวา้ งทสี่ ดุ บรเิ วณหนงึ่ ในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว
ไมว่ า่ จะเปน็ ปญั หาในแอฟรกิ าตะวนั ออกระหวา่ งชาวพืน้ เมอื งผวิ ดำ�กบั ชาวเอเชยี ทีอ่ พยพเขา้ ไปภายหลงั ปญั หาในซดู าน
(Sudan) และแซนซิบาร์ (Zanzibar) ระหว่างชาวพื้นเมืองผิวดำ�และชาวอาหรับ159 หรือปัญหาในไนจีเรียระหว่างพวก
ทางตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของแมน่ ํา้ ไนเจอร์ กบั พวกอกิ โบ (Igbo) ซึง่ อยูท่ างตะวนั ตกเฉยี งใต1้ 60 ความเปลีย่ นแปลงเชน่ นี้
กระตุ้นให้เกิดองค์การเอกภาพแอฟริกา (Organisation of African Unity: OAU, 1963-2002) ขึ้นเพื่อสนับสนุน

	 155	 สำ�หรับผู้ที่ต้องการศึกษารายละเอียดและขั้นตอนการตัดสินใจแก้ปัญหาครั้งสำ�คัญของผู้นำ�อเมริกาในยุคสงครามเย็นอันเข้มข้น และผู้
ที่สนใจการประยุกต์ใช้แนวทางการตัดสินใจและทฤษฎีเกมส์ ในการกำ�หนดความเป็นไประหว่างประเทศ ศึกษาได้ที่ Graham T. Allison (1971)
Essence of Decision: Explaining the Cuban Missile Crisis Boston: Little Brown   http://library.thinquest.org/11046/days/index.
html  accessed on 13 December 2553 	
	 156 	http://en.wikipedia.org/wiki/Berlin_Wall accessed on 13 December 2553
	 157 	อาทิ ปัญหาในไซปรัส (Cyprus) ระหว่างพวกสืบเชื้อสายชาวกรีกกับชาวตุรกี ปัญหาปาเลสไตน์/อิสราเอล ระหว่างชาวอาหรับกับชาวยิว
ปัญหาในอินเดียระหว่างพวกฮินดูกับมุสลิมซึ่งปรากฏชัดมาก่อนหน้านี้ตั้งแต่ ค.ศ. 1947 อันเป็นปีที่อินเดียได้รับเอกราชจากอังกฤษ และปากีสถาน
ได้รับการยอมรับให้แยกตัวออกเป็นรัฐอิสระที่ปกครองโดยชาวมุสลิม การแบ่งแยกนี้ไม่เพียงจะเป็นชนวนให้เกิดการลอบสังหารมหาตมะ คานธี
(Mahatma Gandhi, 1869-1948) ผูน้ �ำ ในการเรียกรอ้ งเอกราชของอนิ เดีย แต่ยงั ทำ�ใหเ้ กิดการใชค้ วามรนุ แรงถงึ ชวี ิตตอ่ ชาวฮินดูและมุสลินราวครึ่ง
ล้าน และก่อให้เกิดสภาพคนผลัดถิ่นอีกราวหนึ่งล้านคน ศึกษาเพิ่มเติมที่ Tony Smith. (1981). op, cit, pp. 91-92, Jonathan Hardt. (2008).
op, cit., p. 265, ‘Partition and Independence’ http://news.bbc.co.uk/hi/english/static/in_dept/south_asia/2002india_pakistan/
timeline/1947.htm accessed on 16 December 2553
	 158	 หนว่ ยคอมมานโด สงั กดั นาวกิ โยธนิ ขององั กฤษเปน็ หนว่ ยแรกทีส่ วมหมวกเบเรตเ์ ขยี วในสงครามโลกครัง้ ทีส่ อง ซึง่ เปน็ เครือ่ งทีบ่ ง่ บอก
ว่าผู้สวมได้ผา่ นหลกั สูตรฝกึ หนว่ ยคอมมานโดครอบทุกหลกั สูตร ส่วนทหารสังกัดอื่นจะตอ้ งผ่านหลกั สูตรคอมมานโดพิเศษตลอดระยะเวลาฝึกเข้ม
ทั้ง 9  สัปดาห์จึงจะมีสิทธิได้สวม ส่วนในสหรัฐอเมริกานั้นหมวกเบเรต์เขียวเป็นสัญลักษณ์ของหน่วยรบพิเศษ (US Army Special Forces) ที่
ได้รับการยอมรับว่า เป็นหน่วยรบที่แข็งแกร่งและกล้าหาญที่สุดในสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้รับมอบหมายภาระกิจหลัก 6 ด้าน: สงครามนอกแบบ การ
ป้องกันในต่างประเทศ การสอดแนมพิเศษ การรุกโดยตรง การช่วยเหลือตัวประกัน และการต่อต้านการก่อการร้าย ศึกษาเพิ่มเติมที่ Tony Smith.
(1981). op, cit., pp. 176-177, http://en.wikipedia.org/wiki/Green_beret, http://en.wikipedia.org/wiki/United_States_Army_Spe-
cial_Forces accessed on 11 December 2553 	
	 159	 Tony Smith. (1981). op, cit., pp. 113, 126.
	 160	 ความขัดแย้งนี้ได้ขยายตัวกลายเป็นสงครามกลางเมือง จนนำ�ไปสู่การแยกตัวของพวกอิกโบเป็นสาธารณรัฐไบอาฟรา (Republic of
Biafra 1967-1970) ซึ่งมีเพียงประเทศจำ�นวนน้อยที่ไม่รวมอเมริกาให้การรับรอง ก่อนที่จะถูกผนวกกลับเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของไนจีเรียในที่สุด
ศึกษาเพิ่มเติมที่ http://enwikipedia.org/wiki/Biafra, http://en.wikipedia.org/wiki/Nigeria_Civil_war, http://en.wikipedia.org/
wiki/Nigeria accessed on 6 December 2553

                              ลขิ สทิ ธิ์ของมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90