Page 196 - การผลิตสัตว์
P. 196
12-24 การผลิตสัตว์
กจิ กรรม 12.2.2
หลักการจัดการการผลติ สกุ รที่ตอ้ งเลี้ยงอ ย่ใู นโรงเรือนต ามร ะบบก ารผลิตป ศสุ ัตว์ธรรมชาตมิ ีอ ย่างไร
แนวตอบกจิ กรรม 12.2.2
หลกั ก ารส ำคญั ข องจ ดั การก ารผ ลติ ส กุ รท ตี่ อ้ งเลย้ี งอ ยใู่ นโรงเรอื นต ามร ะบบก ารผ ลติ ป ศสุ ตั วธ์ รรมชาตมิ ี
ดงั นี้ คอื สกุ รต อ้ งไดร้ บั แ สงแดด ตอ้ งเลย้ี งส กุ รในพ น้ื ทท่ี ไี่ มแ่ ออดั มพี น้ื ทเี่ ลยี้ งก วา้ งก วา่ ก ารเลยี้ งส กุ รโดยท ว่ั ไปค อื
ไมต่ ำ่ ก วา่ 1.5 ตารางเมตรต อ่ ต วั เลย้ี งบ นพ น้ื ด นิ ห รอื พ นื้ ว สั ดเุ ศษเหลอื ก ารเกษตร เพอื่ ใหส้ ตั วไ์ ดข้ ดุ ค ยุ้ อ นั เปน็ การ
แสดงออกซ่ึงพฤติกรรมธรรมชาติ และเลี้ยงด้วยอาหารธรรมชาติที่ปราศจากสารสังเคราะห์ต่างๆ เช่น สารเคมี
สารป ฏชิ ีวนะ และสารเร่งเน้ือแดง เปน็ ต้น
เร่ืองท ี่ 12.2.3
ปญั หาการผ ลิตสัตว์ในร ะบบปศสุ ตั วธ์ รรมชาตแิ ละแนวทางแ กไ้ ข
1. ปัญหาก ารผลิตสตั วใ์ นระบบป ศสุ ตั ว์ธ รรมชาติ
การผลิตส ัตว์ในร ะบบปศุสัตว์ธรรมชาติแ ยกกล่าวได้เป็นข ้อๆ ดังนี้
1.1 ขาดแคลนพันธุ์สัตว์ พันธุ์สัตว์ที่จะใช้ผลิตในระบบปศุสัตว์ธรรมชาติเป็นพันธุ์พื้นเมือง ซึ่งเลี้ยง
ปล่อยในธรรมชาติมานาน มีการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี สาเหตุหลักที่ทำให้พันธุ์สัตว์พื้นเมืองขาดแคลน
มีดังนี้
1) สัตว์พื้นเมืองไม่เหมาะต่อการใช้ผลิตในระบบอุตสาหกรรม พันธุ์สัตว์ท ี่ใช้ผลิตในรูปแบบอุตสาห-
กรรมต้องเป็นพันธุ์สัตว์ที่เจริญเติบโตเร็ว ให้ผลผลิตสูง และให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูง พันธุ์สัตว์ที่ได้รับการ
ค ดั พ นั ธแุ์ ละป รบั ปรงุ พ นั ธแุ์ ลว้ น ไี้ ดร้ บั ค วามน ยิ มน ำม าใชผ้ ลติ เปน็ อ ตุ สาหกรรมม าก จงึ ท ำใหพ้ นั ธสุ์ ตั วพ์ ืน้ เมอื งถ กู ล ะเลย
จ นแ ทบจ ะส ูญพ ันธุ์ ตัวอย่างท ีเ่ห็นไดช้ ัดค ือ สุกรพ ื้นเมืองท ีเ่ลี้ยงก ันในอ ดีต เลี้ยงแ บบป ล่อยให้หาก ินเองต ามธ รรมชาติ
ได้ด ี สามารถปรับต ัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้ดี แต่ส ุกรพื้นเมืองม ีอ ัตราการเจริญเติบโตช ้า ให้ซากท ี่ม ีคุณภาพต่ำ คือ
มีเนื้อแดงน้อยแต่มีไขมันมาก จึงไม่เหมาะที่จะนำมาผลิตในลักษณะอุตสาหกรรม และกรณีของไก่ไข่ที่ใช้เลี้ยงและ
ผลิตไข่แบบอุตสาหกรรมนั้นก็จะไม่ใช้ไก่พื้นเมืองที่เลี้ยงปล่อยตามธรรมชาติ เพราะไก่พื้นเมืองให้ไข่ต่อปีต่ำกว่าไก่
พันธุ์ไข่ที่ผลิตเป็นอุตสาหกรรมมาก ด้วยเหตุของความต้องการสัตว์พื้นเมืองลดลง จึงไม่นิยมนำสัตว์พื้นเมืองมา
ขยายพันธุ์ ปัจจุบันจ ะห าพันธุ์สัตว์พื้นเมืองในท้องถิ่นที่เจริญแล้วได้ยาก สัตว์พันธุ์พื้นเมืองจ ะพบได้เฉพาะในชนบท
ห่างไ กล
2) การนำเครือ่ งจกั รเครือ่ งยนตผ์ อ่ นแ รงม าแ ทนแ รงงานส ตั ว์ การท ำน าในอ ดตี ใชแ้ รงงานจ ากโคกร ะบอื
ในการไถนาและขนย้ายสิ่งของต่างๆ ในไร่นา จากความเจริญทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีปัจจุบันสามารถผลิต
ร ถไถนา รถยนต์ และเครื่องจักรเครื่องยนต์อ ื่นๆ ที่ใช้แ ทนแ รงงานจากสัตว์ เครื่องจักรเครื่องยนต์เหล่านี้สามารถใช้
ลิขสิทธข์ิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช