Page 134 - การจัดการผลิตไม้ดอกไม้ประดับเชิงธุรกิจ
P. 134

8-74 การ​จัดการก​ าร​ผลิต​ไม้​ดอกไม้​ประดับเ​ชิงธ​ ุรกิจ​

แสงด​ ว้ ยต​ าขา่ ยล​ ดแ​ สงร​ อ้ ยล​ ะ 40-60 จงึ น​ ยิ มเ​พาะพ​ นั ธใุ​์ นโ​รงเ​รอื นซ​ ึง่ ภ​ ายในโ​รงเ​รอื นเ​พาะพ​ นั ธสุ​์ ามารถว​ างผ​ งั บ​ อ่ ซ​ ิเี มนต​ ​์
เรียง​เป็นแ​ ถว เป็น​แนว​ได้ห​ ลาย​บ่อแ​ ละ​หลาย​แถว​ตามข​ นาด​พื้นที่​โรง​เรือน​ที่​มี

                 2) 	เตรยี มว​ สั ดป​ุ ลกู วัสดปุ​ ลูกพ​ รรณไ​มน้​ ้ำป​ ระเภทพ​ ืชโ​ผลเ่​หนือน​ ้ำแ​ ละพ​ ืชช​ ายน​ ้ำ อาจเ​ป็นด​ ินผ​ สม​
หรือ​กรวดข​ นาด​เล็ก ลักษณะ​ดังนี้

                     (1) 	ดิน​ผสม นิยมใ​ช้​ดิน​ร่วน​ปนด​ ิน​เหนียวผ​ สมป​ ุ๋ย​คอก โดย​ใน​พื้นที่​ดิน 1 ตาราง​เมตรค​ วร​
ผสม​ปุ๋ย​คอก 0.5-1 กิโลกรัม

                     (2)	กรวด​ขนาด​เล็ก ควรใ​ช้​กรวดแ​ ม่น้ำ​ขนาด 2-3 มิลลิเมตร การใ​ช้​กรวดเ​ป็น​วัสดุ​ปลูก​มี​
ข้อดี กล่าว​คือ ได้​ผลผลิต​พรรณ​ไม้​น้ำ​ที่​สะอาด​และ​ถอน​ต้น​ได้​ง่าย เพราะ​วัสดุ​ปลูก​มี​ลักษณะ​โปร่ง การ​ผลิต​เพื่อ​การ​
ส่ง​ออก จึง​นิยม​ใช้​กรวดเ​ป็นว​ ัสดุป​ ลูก แต่ม​ ี​ข้อ​เสียเ​พราะก​ รวด​ไม่มีแ​ ร่​ธาตุ จึง​ต้อง​ใส่ป​ ุ๋ย​เพิ่ม​เติม

            1.1.2 	การเตร​ ย​ี มต​ น้ พ​ นั ธ ุ์  ต้นพ​ นั ธุพ​์ ชื โ​ผลเ่​หนือน​ ำ้ ห​ รอื พ​ ืชช​ ายน​ ำ้ ส​ ่วนใ​หญไ​่ ดจ​้ ากก​ ารแ​ ยกก​ อ แยกห​ น่อ
แยก​หัว ใช้​ต้นอ​ ่อนจ​ าก​การช​ ำ​ยอด​หรือ​ลำต้น​พืช และเ​พาะ​เมล็ด ขึ้น​กับ​ชนิด​พืช ถ้า​ใช้​ส่วนย​ อด​หรือ​ลำต้นค​ วรเ​ด็ด​ใบ​
โคนก​ ิง่ อ​ อกเ​พือ่ ใ​หเ​้ ปน็ ส​ ว่ นท​ รี​่ ากส​ ามารถแ​ ตกแ​ ละเ​จรญิ เ​ตบิ โตไ​ด้ ตน้ พ​ นั ธทุ​์ เี​่ ลอื กค​ วรเ​ปน็ ตน้ ท​ แี​่ ขง็ แ​ รงส​ มบรู ณส​์ ามารถ​
เจริญ​เติบโต​ต่อ​ได้​ดี

            1.1.3 	การป​ ลกู   กอ่ นป​ ลกู ค​ วรเ​ตมิ น​ ำ้ ใ​หว​้ สั ดป​ุ ลกู ช​ ุม่ แลว้ ค​ ราดด​ นิ ห​ รอื ก​ รวดใ​หเ​้ รยี บ วธิ ก​ี ารป​ ลกู ป​ ฏบิ ตั ​ิ
เช่น​เดียว​กับ​การ​ปลูก​พืช​ทั่วไป โดย​ขุด​หลุม​ให้​มี​ขนาด​กว้าง​พอ​ประมาณ จาก​นั้น​วาง​ต้น​พันธุ์​ลง​ใน​หลุม​ใส่​ดิน​บริเวณ​
โคนต​ ้น กรณี​ที่​ต้นพ​ ันธุ์​เป็นก​ อ หน่อ หรือ​หัว ควรก​ ด​ดินร​ อบๆ เพื่อ​ให้​ต้นพ​ ันธุ์​ที่​ปลูก​ใหม่​ตั้ง​ตรง​ได้ สุดท้าย​ใน​ระยะ​
แรกค​ วร​เพิ่ม​การ​พรางแ​ สง​และ​ให้น​ ้ำ​วัน​ละห​ ลายๆ ครั้ง

            1.1.4 	การ​ให้​น้ำ  การ​ผลิต​พรรณ​ไม้​น้ำ​เชิง​ธุรกิจ​ใน​โรง​เรือน​นิยม​ติด​ตั้ง​ระบบ​ให้​น้ำ​แบบ​หยด​หรือ​แบบ​
พ่น​ฝอย จำนวน​ครั้ง​ใน​การ​ให้​น้ำ​ขึ้น​กับ​ชนิด​ของ​พืช พรรณ​ไม้​น้ำ​บาง​ชนิด​ต้องการ​ความชื้น​สูง เช่น ขาไก่ ควร​ให้​น้ำ
3-4 ครั้งต​ ่อ​วัน

            1.1.5 	การใ​หป​้ ยุ๋ การ​ให้ป​ ุ๋ยพ​ ืชโ​ผล่เ​หนือน​ ้ำห​ รือ​พืชช​ ายน​ ้ำ ควร​ให้ห​ ลัง​จาก​พืชเ​จริญ​ตั้งต​ ัวไ​ด้ โดย​ให้ป​ ุ๋ย​
เคมีท​ ี่ม​ ีธ​ าตุ N,P และ K ชนิดล​ ะลาย​น้ำ เช่น ปุ๋ยส​ ูตร 15-15-15 ใน​อัตรา 10-25 กรัม ละลาย​ใน​น้ำ 20 ลิตร เพื่อ​เร่ง​
การ​เจริญ​เติบโตแ​ ละเ​พิ่ม​ความ​สมบูรณ์​ของต​ ้น โดยใ​ห้​สลับ​กับ​ปุ๋ย​สูตร 30-20-10 หรือ​สูตร 25-5-5 เพื่อ​เพิ่ม​การส​ ร้าง​
ใบ ด้วย​การ​พ่นป​ ุ๋ย​ให้ท​ ั่ว 1-2 สัปดาห์​ต่อค​ รั้ง

            1.1.6 	การป​ อ้ งกันก​ ำจัดศ​ ตั รพ​ู รรณ​ไมน​้ ำ้ ศัตรู​พรรณ​ไม้​น้ำ​มี​ทั้ง​โรคท​ ี่เ​กิด​จากเ​ชื้อร​ า และแ​ มลง​ศัตรู เช่น
เพลี้ย ตั๊กแตน​และ​หนอนช​ นิดต​ ่างๆ ผู้ผ​ ลิต​ต้องห​ มั่นต​ รวจ​สอบ ถ้า​พบ​ศัตรูพ​ ืชต​ ้องร​ ีบ​ทำลาย​หรือ​ป้องกัน โดย​อาจ​พ่น​
สาร​สะเดา​สกัด​ทุก 7 วัน หาก​พบว่า​ระบาด​รุนแรง​อาจ​จำเป็น​ต้อง​ใช้​สาร​เคมีก​ ำจัด ทั้งนี้​ควร​จดจำ​ไว้​ว่า พรรณ​ไม้​น้ำ​มี​
ต้น​และ​ใบ​บอบบาง​กว่า​พืช​บก การ​ใช้​สาร​เคมี​ควร​เลือก​ชนิด​ที่​ออก​ฤทธิ์​ไม่​รุนแรง และ​ใช้​ใน​ปริมาณ​ที่​ต่ำ​ที่สุด​ตาม​ข้อ​
กำหนดใ​นฉ​ ลาก

            การเ​พาะพ​ ันธุพ์​ รรณไ​มน้​ ้ำป​ ระเภทพ​ ืชช​ ายน​ ้ำแ​ ละพ​ ืชโ​ผลเ่​หนือน​ ้ำ ไดพ้​ ัฒนาเ​ป็นการป​ ลูกแ​ บบไ​รด้​ ิน โดย​
ปลูกต​ ้นพ​ ันธุ์ใ​นก​ ระถางต​ ะกร้าพ​ ลาสติกข​ นาดเ​ล็ก ใช้ว​ ัสดุป​ ลูกเ​ป็นแ​ ร่ใยหิน (rock wool) ซึ่งม​ ีค​ ุณสมบัติอ​ มน​ ้ำ นุ่ม ไม​่
เปื่อยง​ ่าย​และไ​ม่​เกาะ​เป็น​ก้อน เมื่อป​ ลูก​ต้น​พันธุ์​ใน​กระถางเ​รียบร้อย นำก​ ระถางแ​ ช่​ใน​บ่อ​หรือ​กระบะ​ขัง​น้ำ ที่จ​ ัด​ระบบ​
หมุนเวียนน​ ้ำเ​พื่อป​ ้องกันร​ ากเ​น่าข​ ณะแ​ ชใ่​นน​ ้ำเ​ป็นเ​วลาน​ าน พร้อมท​ ั้งพ​ ่นน​ ้ำจ​ ากด​ ้านบ​ นเ​ป็นร​ ะยะ การป​ ลูกว​ ิธนี​ ีส้​ ามารถ​
ให้​ปุ๋ยไ​ด้​สะดวก โดยล​ ะลาย​ปุ๋ย​เติม​ใน​น้ำ​ที่ข​ ังใ​น​กระบะ ข้อดี​ของก​ ารป​ ลูก​วิธี​นี้ ได้แก่ ผลผลิต​พรรณ​ไม้น​ ้ำ​มี​ลักษณะ​
เป็นกล​ ุ่ม​หรือเ​ป็นก​ อ​สวยงาม สามารถ​หยิบก​ ระถางจ​ ำหน่ายไ​ด้​สะดวก จึงเ​ป็นท​ ี่​นิยมข​ อง​ผู้​ซื้อ

                             ลิขสิทธิข์ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139