Page 246 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 246
10-24 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
3. ขอ้ มลู เก่ียวกบั ก ระบวนการผลติ และบ รรจุ
ข้อมูลด้านนี้จะได้มาจากวิศวกรผู้รับผิดชอบโรงงานผลิตสินค้า เพื่อให้บรรจุภัณฑ์ที่ได้จากการพัฒนาและ
ออกแบบโครงสร้างสามารถผ่านก ระบวนการผ ลิตและบรรจุได้ โดยไม่ก่อปัญหาแ ละได้ป ระสิทธิภาพในการผ ลิตตาม
เป้าห มาย ข้อมูลที่ค วรท ราบ ได้แก่
3.1 หากเป็นอ าหาร การบ รรจุผ ลิตภัณฑ์ล งในบ รรจุภ ัณฑ์ ทำก ่อนห รือห ลังก ระบวนการถ นอมอ าหาร ถ้าก ่อน
กระบวนการถ นอมอาหารใช้วิธีใด ระบุอ ุณหภูมิ ความด ัน เวลาท ี่ใช้อย่างล ะเอียด
3.2 ในการบรรจุผลิตภัณฑ์ ใช้เครื่องอัตโนมัติ หรือใช้แรงงานคน ถ้าใช้เครื่องอัตโนมัติ ใช้เครื่องบรรจุ
ประเภทใด ความเร็วในการบ รรจุเท่าไร ถ้าย ังไม่มีเครื่องบรรจุ มีแผนจ ะส ั่งซื้อเครื่องแบบใด ความเร็วเท่าใด
3.3 หลังจ ากบ รรจุหน่วยย ่อยแล้ว มีก ารรวบรวมหน่วยหรือไม่ ถ้าม ี จะใช้ว ิธีใดและเครื่องแ บบใด มีข ้อจ ำกัด
อะไรบ้าง
3.4 การบรรจุล งในบ รรจุภัณฑ์ข นส่ง เช่น กล่องกระดาษลูกฟูก ใช้วิธีใดและเครื่องแบบใด
3.5 ข้อจ ำกัดต่าง ๆ ของเครื่องบ รรจุที่เกี่ยวข้อง
หากเป็นบ รรจุภัณฑ์ค งรูป เช่น ขวด ถ้วย กล่อง ซึ่งมีฝาปิด ข้อมูลในด้านนี้ต้องรวมถ ึงเครื่องแ ละวิธีก ารป ิด
ฝาด้วย ในกรณีที่ผ ู้ผ ลิตสินค้าซื้อบรรจุภัณฑ์ที่ไม่มีฉลากมาใช้ เนื่องจากมีเครื่องติดฉ ลากของตนเอง ผู้รับผิดชอบการ
พัฒนาแ ละอ อกแบบบรรจุภัณฑ์ต ้องม ีข ้อมูลเกี่ยวกับรายละเอียดของเครื่องติดฉลากด ้วย
4. ขอ้ มลู ดา้ นการข นส่งแ ละก ารจัดจำหนา่ ย
ข้อมูลด ้านนี้จะได้มาจ ากแผนกการจัดส่งส ินค้า หากเป็นการส่งอ อก จำเป็นต้องหาข ้อมูลเพิ่มเติมในป ระเทศ
ปลายทางที่เกี่ยวกับการลำเลียง จัดจำหน่าย และคลังสินค้าของลูกค้าต่างประเทศด้วย เพื่อให้บรรจุภัณฑ์ที่ได้จาก
การพัฒนาและออกแบบโครงสร้าง สามารถลำเลียงและขนส่งจากแหล่งผลิตจนถึงจุดหมายปลายทางได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
ความจำเป็นของข้อมูลด้านนี้มาจากการขนส่งสินค้าทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ ในแต่ละแบบมีความ
ต้องการบรรจุภัณฑ์ท ี่แ ข็งแ รงต ่างก ัน ลักษณะวิธีก ารเคลื่อนย้ายส ินค้า จำนวนครั้งของการข นถ ่าย การจัดวางในคลัง
สินค้า ล้วนแ ต่ม ีผ ลต ่อก ารพ ัฒนาและอ อกแบบบ รรจุภ ัณฑ์ท ั้งส ิ้น แม้ว่าข ้อมูลเหล่าน ี้จ ะใช้ก ับก ารอ อกแบบบ รรจุภ ัณฑ์
เพื่อก ารขนส่ง (มักเป็นกล ่องกระดาษลูกฟูก) เป็นหลักก ็ตาม แต่ก ็มีความส ัมพันธ์กับบรรจุภัณฑ์ชั้นที่ 1 และชั้นท ี่ 2
ด้วยเช่นก ัน เพราะบ รรจภุ ัณฑช์ ั้นท ี่ 1 และช ั้นท ี่ 2 สามารถอ อกแบบใหม้ สี มบัตริ ับแ รงก ดท ับในก ารเรียงซ ้อนไดบ้ างส ่วน
หากต อ้ งการ เชน่ การอ อกแบบข วดพ ลาสตกิ ใหม้ ผี นงั ข วดเปน็ ล อน และม ฝี าบ นเรยี บ จะร บั แ รงก ดท บั ไดบ้ า้ ง ทำใหก้ ลอ่ ง
กระดาษลูกฟูกที่ใช้เพื่อก ารขนส่งไม่ต ้องม ีค่าค วามส ามารถในการร ับแรงก ดทับสูงน ัก เป็นการประหยัดค ่าใช้จ่ายได้
5. ขอ้ มลู ด า้ นกฎร ะเบียบแ ละข้อบ งั คับทเ่ีกย่ี วขอ้ งกบั บรรจุภ ัณฑ์
กฎร ะเบยี บแ ละข ้อบ ังคบั ท ีเ่กี่ยวข้องก บั บ รรจภุ ณั ฑใ์นป ระเทศท ีจ่ ะจ ำหนา่ ยส ินคา้ เปน็ ส ิ่งส ำคญั ท ีผ่ พู้ ัฒนาแ ละ
ออกแบบบรรจุภัณฑ์ต้องทราบ เพื่อให้บรรจุภัณฑ์ที่ได้จากการพัฒนาและออกแบบโครงสร้างมีความสอดคล้องกับ
กฎระเบียบ และจำหน่ายได้โดยไม่ผิดกฎหมายของประเทศนั้น บางประเทศนอกจากมีกฎระเบียบด้านบรรจุภัณฑ์
โดยตรงแ ลว้ ยงั ม กี ฎร ะเบยี บเกีย่ วก บั ส ิง่ แ วดลอ้ มด ว้ ย เชน่ การใชฉ้ ลากเพือ่ ส ิง่ แ วดลอ้ ม (eco-label) การแ จง้ ค า่ ข องก าร
ปลอ่ ยก า๊ ซเรอื นก ระจกในร ปู ข องค ารบ์ อนฟ ตุ พ รนิ้ ต์(carbon footprint) เปน็ ตน้ กฎร ะเบยี บเหลา่ น จี้ ะซ บั ซ อ้ นแ ละเขม้ ง วด
มากขึ้นในอนาคตโดยเฉพาะการส่งออกสินค้าไปยังประเทศที่พัฒนาแล้วซึ่งมีกฎเหล่านี้อย่างชัดเจน ผู้ที่รับผิดชอบ
การพ ัฒนาและอ อกแบบบรรจุภัณฑ์ต้องศึกษาต ิดตามแ ละร วบรวมข ้อมูลเหล่าน ี้ไว้ให้มากท ี่สุด
ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช