Page 25 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 25

ความร​ ู้​เบื้อง​ต้น​เกี่ยว​กับพ​ าณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์ 8-23

       เนื่อง​มา​จาก​อัตรา​การ​เติบโต​ของ​การ​ใช้​อินเทอร์เน็ต​และ​การ​เพิ่ม​ขึ้น​ของ​เว็บไซต์​ทาง​ธุรกิจ​ที่​มี​อย่าง​ต่อ​เนื่อง
ทำใหก​้ ารป​ ระกอบธ​ รุ กจิ โ​ดยเ​ฉพาะธ​ รุ กจิ บ​ นอ​ นิ เทอรเ์ นต็ เ​ปน็ ช​ อ่ งท​ างการต​ ลาดข​ นาดใ​หญข​่ องโ​ลกไ​รพ​้ รมแดน ทสี​่ ามารถ​
เข้า​ถึง​กลุ่มผ​ ู้​บริโภค​เป้า​หมาย​ได้​โดยตรงอ​ ย่างร​ วดเร็ว ไร้ข​ ีดจ​ ำกัด​ของเ​รื่องเ​วลาแ​ ละ​สถาน​ที่ การ​แข่งขัน​ทางการ​ค้า​เสรี
และร​ ะหว่างป​ ระเทศท​ ี่ต​ ้องแ​ ข่งขันแ​ ละ​ชิงค​ วาม​ได้​เปรียบก​ ัน​ที่ “ความเร็ว” ทั้ง​การนำ​เสนอส​ ินค้า​ผ่าน​สื่อ​อิเล็กทรอนิกส์
มี​ความส​ ำคัญ​อย่าง​ยิ่งใ​น​สังคมเ​ศรษฐกิจ​ฐาน​ความร​ ู้ พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​จึง​เป็น​อีก​ทางเ​ลือก​หนึ่ง​ของ​การป​ ระกอบ​
ธุรกิจ​ในป​ ัจจุบัน และ​ได้ร​ ับ​ความน​ ิยม​เพิ่มข​ ึ้นเ​ป็นล​ ำดับ

       การ​เรียน​รู้​ระบบ​ข้อมูล หรือ​ที่​เรียก​ว่า “ดิจิทัล (digital)” เป็น​สิ่ง​จำเป็น​สำหรับ​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์ แต่​ที่​
สำคัญ​กว่า​คือ ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์​เป็นการ​ใช้​วิธี​การ​ทำงาน​แบบ​ใหม่ พนักงาน​ต้อง​พบ​ประสบ​การ​เปลี่ยนแปลง​ที่​
ยิ่งใ​หญเ่​มื่อโ​ครงการข​ นาดใ​หญถ​่ กู ท​ ำข​ ึน้ เ​พื่อป​ รับเ​ปลี่ยนร​ ูปแ​ บบธ​ ุรกิจ (business transformation) เช่น ระบบส​ ่งเ​สริม​
การ​ขาย​ออนไลน์​หรือ​กระบวนการ​จัด​ซื้อ​จัด​จ้าง​วัตถุดิบ​ออนไลน์ สามารถ​นำ​มา​ซึ่ง​การ​เปลี่ยนแปลง​ที่​ยิ่ง​ใหญ่​สำหรับ​
พนักงาน​ที่​ทำงาน​และ​รับ​ผิด​ชอบ​อยู่​ใน​ฝ่าย​นี้ ซึ่ง​ทั้ง​สอง​ระบบ​อาจ​เป็น​อุปสรรค​ต่อ​พนักงาน​ที่​ทำงาน​อยู่​ใน​องค์กร​ได้
พนักงาน​บาง​คน​อาจ​คุ้น​เคย​กับ​การ​ทำงาน​ที่​มี​การ​ปฏิสัมพันธ์​กับ​ลูกค้า​แบบ​ตัว​ต่อตัว​มา​เป็น​เวลา​หลาย​ปี แต่​ต่อ​มา​ถูก​
ขอใ​หใ้​ชเ้​ทคโนโลยใี​นก​ ารท​ ำงาน ซึ่งส​ ่งผ​ ลใ​ห้การต​ ิดต่อก​ ับล​ ูกค้าแ​ บบต​ ัวต​ ่อต​ ัวล​ ดล​ ง ดังน​ ั้น อาจเ​ห็นว​ ่าเ​ทคโนโลยที​ ำให​้
ประสิทธิภาพ​ใน​การ​ทำงาน​ของ​พนักงาน​ลด​ลง อาจ​รู้สึก​ว่า​งาน​มี​ความ​น่า​สนใจ​น้อย​ลง โดย​อาจม​อง​ว่า​เทคโนโลยี​เป็น​
อุปสรรค​ต่อ​การ​ปฏิบัติ​งาน ดัง​นั้น ใน​การ​ศึกษา​วิวัฒนาการ​พาณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์​และ​ธุรกิจ​อิเล็กทรอนิกส์​จะ​ทำให้​
เข้าใจ​การเ​ปลี่ยนแปลงม​ าก​ขึ้น

       ยคุ ท​ ี่ 1 อนิ เทอรเ์ นต็ ค.ศ. 1969-1985
       ค.ศ. 1957 สหภาพโ​ซเวียตไ​ดป้​ ล่อยด​ าวเทียม Sputnik ทำใหส้​ หรัฐอเมริกาไ​ดต้​ ระหนักถ​ ึงป​ ัญหาท​ ีอ่​ าจเ​กิดข​ ึ้น
ดงั น​ ัน้ ค.ศ. 1969 กองทพั ส​ หรฐั ต​ อ้ งเ​ผชญิ ห​ นา้ ก​ บั ค​ วามเ​สีย่ งท​ างการท​ หาร และค​ วามเ​ปน็ ไ​ปไ​ดใ​้ นก​ ารถ​ กู โ​จมตด​ี ว้ ยอ​ าวธุ ​
ปรมาณูห​ รือน​ ิวเคลียร์ การถ​ ูกท​ ำลายล​ ้างศ​ ูนย์ค​ อมพิวเตอร์แ​ ละร​ ะบบก​ ารส​ ื่อสารข​ ้อมูล อาจท​ ำให้เ​กิดป​ ัญหาท​ างการร​ บ
และ​ใน​ยุค​นี้ ระบบ​คอมพิวเตอร์​ที่​มี​หลาก​หลาย​มากมาย​หลาย​แบบ ทำให้​ไม่​สามารถ​แลก​เปลี่ยน​ข้อมูล ข่าวสาร และ​
โปรแกรมก​ นั ไ​ด้ จงึ ม​ แ​ี นวค​ วามค​ ดิ ใ​นก​ ารว​ จิ ยั ร​ ะบบท​ สี​่ ามารถเ​ชือ่ มโ​ยงเ​ครือ่ งค​ อมพวิ เตอร์ และแ​ ลกเ​ปลีย่ นข​ อ้ มลู ร​ ะหวา่ ง​
ระบบ​ที่​แตก​ต่าง​กัน​ได้ ตลอด​จน​สามารถ​รับ​ส่ง​ข้อมูล​ระหว่าง​กัน​ได้​อย่าง​ไม่​ผิด​พลาด แม้ว่า​คอมพิวเตอร์​บาง​เครื่อง
หรือส​ ายร​ ับส​ ่งส​ ัญญาณเ​สียห​ ายห​ รือถ​ ูกท​ ำลาย กระทรวงก​ ลาโหมอ​ เมริกัน (Department of Defense: DoD) ได้ใ​ห้ท​ ุน​
ที่ม​ ีชื่อว​ ่า DARPA (Defense Advanced Research Project Agency) ภายใ​ต้ก​ ารค​ วบคุมข​ อง Dr. J.C.R. Licklider
ได้​ทำการ​ทดลองร​ ะบบ​เครือ​ข่าย​ที่ม​ ีชื่อว​ ่า DARPA Network และต​ ่อ​มาไ​ด้​กลายส​ ภาพ​เป็น ARPANet (Advanced
Research Projects Agency Network) และต​ ่อ​มาไ​ด้​พัฒนา​เป็น​อินเทอร์เน็ต​ใน​ที่สุด
       ยคุ ท​ ่ี 2 ดอท​คอม ค.ศ. 1985-1987
       ดอทค​ อม (.com) เป็นโ​ดเมนร​ ะดับบ​ นส​ ุดต​ ามห​ มวดใ​นร​ ะบบก​ ารต​ ั้งช​ ื่อโ​ดเมนบ​ นอ​ ินเทอร์เน็ต ย่อม​ าจ​ ากค​ ำว​ ่า
commercial แสดงถ​ ึงว​ ัตถุประสงค์ใ​นต​ อนเ​ริ่มแ​ รกว​ ่าใ​ช้ส​ ำหรับเ​ครือข​ ่ายท​ ี่เ​กี่ยวข้องก​ ับก​ ารพ​ าณิชย์ โดยท​ ั่วไปโ​ดเมน
.com เริ่ม​แรก​ดูแล​จัดการ​โดย​กระทรวง​กลาโหม​แห่ง​สหรัฐอเมริกา บริหาร​งาน​โดย​เว​อริ​ไซน์ การ​จด​ทะเบียน .com
สามารถ​กระทำ​ผ่าน​ผู้รับ​จด​ทะเบียน​ที่​ได้​การรับรอง​โดย​บรรษัท​อินเทอร์เน็ต​ว่า​ด้วย​การ​กำหนด​ชื่อ​และ​หมายเลข
(ICANN) ชื่อ​ที่​จด​ทะเบียน​จะไ​ด้​รับก​ าร​ยอมรับ​ให้​เป็นช​ ื่อ​โดเมนส​ ากล โดเมน .com เป็น​โดเมน​แรก​ที่เ​ป็น​โดเมน​ระดับ​
บนส​ ุด​ตาม​หมวด ซึ่ง​ได้จ​ ัดต​ ั้งค​ รั้งแ​ รก​ในป​ ี ค.ศ. 1985 และ​หลัง​จากน​ ั้น​ก็​มีดอ​ ท​ อื่นๆ ตาม​มา เช่น .net, .org, .gov
เป็นต้น

                              ลิขสิทธ์ขิ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30