Page 33 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 33

ความ​รู้เ​บื้อง​ต้น​เกี่ยว​กับพ​ าณิชย์​อิเล็กทรอนิกส์ 8-31

(bill of exchange) อื่นๆ ตัวอย่างเ​ว็บไซต์​ที่ป​ ระกอบ​ธุรกิจแ​ บบ B2B เช่น www.alibaba.com, www.thailand.
com เป็นต้น

       ธุรกิจ​แบบ B2B ได้ม​ ีส​ ่วน​ช่วยใ​น​ด้าน​การป​ ฏิบัติ​งาน เพิ่ม​รายไ​ด้ และ​ลด​เวลาใ​น​การนำส​ ินค้า​เข้า​สู่ต​ ลาด สร้าง​
ความ​ได้​เปรียบ​ใน​เชิง​ธุรกิจ ซึ่ง​รวม​ถึง​การ​มุ่ง​เน้น​ใน​การนำ​เทคโนโลยี​มา​ใช้​เพื่อ​สร้าง​ผล​กำไร​แก่​บริษัท​และ​องค์กร
การ​เปลี่ยนแปลง​จาก​การ​ฝาก​สินค้า​กับ​ร้าน​ค้า​ทาง​อินเทอร์เน็ต ธุรกิจ​แบบ B2B ที่​เปิด​กว้าง​โดย​อาศัย​เทคโนโลยี​
อินเทอร์เน็ตไ​ด้​เติบโต​ขึ้น​อย่างม​ าก ในท​ ุกภ​ าค​อุตสาหกรรมเ​ลยท​ ีเ​ดียว ธุรกิจ​ด้าน​การท​ ำธ​ ุรกรรม​ผ่าน​ทางอ​ ินเทอร์เน็ต​
ของ​บริษัทเ​อกชนไ​ด้​พิสูจน์ถ​ ึง​ความส​ ำเร็จอ​ ย่าง​มาก​ใน​ทศวรรษท​ ี่​ผ่าน​มา เช่น Dell Computer และ​ห้าง​สรรพส​ ินค้า
Wall-Mart โดย​มีป​ ัจจัย​หลัก​ใน​ความ​สำเร็จ คือ เป็น​ตลาดแ​ บบ​ออนไลน์​ซึ่ง​เริ่ม​จาก​การ​ขยายโ​อกาสใ​น​การเ​ข้าถ​ ึง​ลูกค้า​
แบบ 24 ชั่วโมง 7 วัน​ต่อส​ ัปดาห์ มาเ​ป็นก​ ลยุทธ์​ด้าน​ราคาท​ ี่ถ​ ูกก​ ว่า​ใน​การ​สั่งซ​ ื้อแ​ บบอ​ อนไลน์ หรือใ​ห้​ข้อ​เสนอ​ที่​ดี​กว่า
โดย​การ​ทำ​ธุรกิจ​ประเภท​นี้​คู่​ค้า​ทั้ง​สอง​ฝ่าย​จะ​มี​ความ​คาด​หวัง​สูง​มาก ตั้งแต่​ราคา​ที่​นำ​เสนอ​ขาย​ที่​ต้อง​ถูก​เป็น​พิเศษ
ปรมิ าณส​ นิ คา้ ท​ คี่​ ้าก​ ันต​ อ้ งม​ จ​ี ำนวนม​ าก คณุ ภาพข​ องส​ นิ ค้าท​ ดี่​ เี​ยี่ยม การส​ ่งม​ อบส​ นิ ค้าท​ ตี​่ รงเ​วลา และท​ สี​่ ำคัญค​ อื บรษิ ัท​
หรืออ​ งค์กรธ​ ุรกิจต​ ้องพ​ ร้อมท​ ีจ่​ ะร​ ับค​ วามเ​สี่ยงจ​ ากก​ ารไ​ดก้​ ำไรต​ ่อห​ น่วยท​ ีต่​ ่ำห​ ากเ​กิดค​ วามเ​สียห​ ายข​ ึ้นก​ จ็​ ะเ​ป็นย​ อดเ​งิน​
ทีส่​ ูงม​ าก และอ​ ีกอ​ ย่างห​ นึ่งท​ ี่บ​ ริษัทห​ รืออ​ งค์กรธ​ ุรกิจต​ ้องพ​ ิจารณา คือ ความพ​ ร้อมใ​นก​ ารเ​จรจาค​ ้าขายใ​นป​ ริม​ าณม​ ากๆ
ซึ่งน​ ั่นห​ มายถ​ ึง ถ้าบ​ ริษัทห​ รืออ​ งค์กรธ​ ุรกิจไ​ม่ไ​ด้เ​ป็นผ​ ู้ผ​ ลิตเ​อง ก็ต​ ้องม​ ีอ​ ำนาจต​ ่อร​ องท​ ี่จ​ ะไ​ปเ​จรจาเ​อาส​ ินค้าจ​ ากโ​รงงาน​
ผลิตใ​นร​ าคาถ​ ูก​พอที่​จะแ​ ข่งขัน​กับค​ ู่แ​ ข่ง​ทั่ว​โลก​ได้

       1.2 	ธรุ กิจ​กับภ​ าค​รัฐ (Business to Government: B2G) หรือ​บีท​ ูจ​ ี เป็นการ​ติดต่อ​กัน​ระหว่าง​ภาค​ธุรกิจ​กับ​
หน่วย​งาน​ราชการ ไม่​ว่า​จะ​เป็นการ​จัด​ซื้อ​ของ​ภาค​รัฐ​ที่​ต้อง​ติดต่อ​กับ​เอกชน (e-Procurement) งาน​ให้​บริการ​ข้อมูล​
ขา่ วสาร งานเ​สนอโ​ครงการ การเ​ปดิ ป​ ระมลู การย​ ืน่ แ​ บบ การย​ ืน่ ซ​ องป​ ระกวดร​ าคา งานการเ​สยี ภ​ าษอ​ี ากร และก​ ารต​ อบร​ บั
เ​มื่อย​ ื่นแ​ บบภ​ าษีอ​ ากร รวมท​ ั้งก​ ารต​ ัดโ​อนร​ ายการท​ างการเ​งินร​ ะหว่างภ​ าคร​ ัฐก​ ับเ​อกชน งานบ​ ริการด​ ิจิทัลไ​ลบรารี ข้อมูล​
ทางเ​ทคนิค และ​ข้อมูลบ​ ริการ​ที่เ​ป็น​ประโยชน์ เช่น ข้อมูล​สิทธิ​บัตร ข้อมูล​มาตรฐาน ข้อมูล​เพื่อ​ประกอบก​ ารท​ างธ​ ุรกิจ​
บาง​อย่าง ส่วน​ใหญ่​เพื่อ​ความ​สะดวก​และ​ประหยัด​ค่า​ใช้​จ่าย เช่น การ​ประกาศ​จัด​จ้าง​ของ​ภาค​รัฐ​ใน​เว็บไซต์ www.
mahadthai.com หรือ​การ​ใช้​งาน​ระบบ​อี​ดี​ไอ​ใน​พิธีการ​ศุลกากร​ของ​กรม​ศุลกากร​ที่​เว็บไซต์ www.customs.go.th
การก​รอก​แบบฟ​ อร์มแ​ ละ​การล​ งท​ ะเบียน​ต่างๆ เพื่อ​การจ​ ดท​ ะเบียนธ​ ุรกิจ​ออนไลน์​ผ่าน​ทางเ​ว็บไซต์ www.dbd.go.th
เป็นต้น

       1.3	 ธุรกิจ​กับ​ผู้​บริโภค (Business to Consumer: B2C) หรือ​บี​ทู​ซี คือ​รูป​แบบ​การ​จำหน่าย​สินค้า​จาก​ธุรกิจ​
ถึงผ​ ู้​บริโภค​โดยตรง เป็นการ​ค้าป​ ลีก เรียก​ง่ายๆ คือ การค​ ้าแ​ บบข​ ายป​ ลีก ปัจจุบัน​มี​เว็บล​ ักษณะ​นี้​เพิ่ม​มาก​ขึ้น โดย​มี​
การ​สั่ง​ซื้อ​สินค้า​และม​ ูลค่า​การ​ซื้อข​ ายส​ ินค้าแ​ ต่ละค​ รั้ง​เป็น​จำนวน​ไม่​สูงม​ าก​นัก เช่น www.thai2hand.com, www.
weloveshopping.com โดย​บริการ​ของ B2C นั้น พยายามเ​น้น​ใน 3 ด้าน คือ 1) การ​ขายอ​ อนไลน์ 2) การใ​ห้​บริการ​
ออนไลน์ และ 3) การแ​ ลกเ​ปลี่ยนอ​ อนไลน์ เป็นห​ ลัก โดยส​ ่วนใ​หญ่แ​ ล้วล​ ูกค้าม​ ักจ​ ะซ​ ื้อส​ ินค้าใ​นล​ ักษณะซ​ ื้อป​ ลีก จำนวน​
ไม่​มาก ผ่าน​ทาง​อินเทอร์เน็ต​ใน​การ​ซื้อ​สินค้า​จาก​ธุรกิจ​ที่​โฆษณา​อยู่​ใน​อินเทอร์เน็ต ธุรกิจ​ใน​ประเภท B2C ถือ​ได้​ว่า​
เป็นการ​ทำ​ธุรกิจ​ที่​เน้น​ขาย​สินค้า​หรือ​บริการ​โดยตรง​ให้​กับ​ผู้​บริโภค โดย​อาศัย​ช่อง​ทาง​อินเทอร์เน็ต ซึ่ง​เป็น​ช่อง​ทาง​ที่​
ผู้​ผลิต​ขนาดก​ ลาง​และข​ นาด​เล็กส​ ามารถ​สร้าง​โอกาส​ในก​ ารต​ ่อสู้​กับ​ธุรกิจ​ขนาดใ​หญ่​ได้

       1.4	 ผู้​บริโภค​กับ​ธุรกิจ (Consumer to Business: C2B) หรือ​ซี​ทูบี หมาย​ถึง การ​ที่​ผู้​บริโภค​มี​สถานะ​เป็น​
ผู้​ค้า ใน​ขณะ​ที่​ธุรกิจอ​ ยู่​ใน​บทบาท​ของ​ผู้ซ​ ื้อ หรือ​อีก​นัยห​ นึ่ง​คือ บทบาทส​ ลับก​ ัน​นั่นเอง ลักษณะน​ ี้​ผู้​บริโภค​จะเ​ข้าไป​มี​
บทบาทใ​น​การต​ ั้งร​ าคา​สินค้า จาก​แต่เ​ดิม​อำนาจ​เบ็ดเสร็จน​ ี้​เป็น​ของผ​ ู้​ค้า​เท่านั้น ซึ่ง C2B เป็นร​ ูป​แบบข​ องบ​ ุคคลท​ ั่วไป​
ที่ใ​ช้​อินเทอร์เน็ตเ​พื่อ​ขายส​ ินค้า​หรือบ​ ริการ​ให้​กับอ​ งค์กร หรือบ​ ุคคลท​ ั่วไป​ที่ม​ อง​หาผ​ ู้​ขาย​เพื่อ​ติดต่อ​และ​ทำธ​ ุรกรรม​ใน​
รูป​แบบอ​ อนไลน์

                              ลขิ สทิ ธขิ์ องมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38