Page 75 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 4
P. 75

การออกแบบการวิจัย 4-65

            2) 	 เรื่องที่ต้องการศึกษามีทฤษฎีรองรับน้อย หรือขาดทฤษฎีที่จะชี้นำ�ทางในการศึกษา การ
วิจัยเชิงคุณภาพจึงเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีที่จะสร้างทฤษฎีใหม่หรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ เช่น ผลการวิจัยเชิง
ปริมาณพบว่า นักเรียนเรียนวิทยาศาสตร์ได้น้อยลงกว่าปกติ เมื่อครูสอนโดยใช้การสอนแบบสืบสอบ ซึ่ง
ขัดแย้งกับแนวคิดการสอนวิทยาศาสตร์ นักวิจัยอาจใช้การวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อหาข้อมูลมาอธิบายผล
การค้นพบจากการวิจัยเชิงปริมาณ

       หมายเหตุ ประเด็นคำ�ถามวิจัยของการวิจัยเชิงคุณภาพไม่ต่างจากการวิจัยรูปแบบอื่นๆ คือ การมุ่ง
อธบิ ายปรากฏการณ์ การเปรยี บเทยี บ และการวเิ คราะหส์ าเหต-ุ ผลลพั ธท์ ีแ่ ตกตา่ งไปจากการวจิ ยั อืน่ ๆ คอื วธิ ี
การที่ใช้แตกต่างจากงานวิจัยอื่น กล่าวคือ การวิจัยนี้เน้นวิธีการเชิงคุณภาพทั้งในด้านการเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล และการแปลผลข้อมูลที่ได้มา

              หลงั จากศกึ ษาเนือ้ หาสาระเรือ่ งท่ี 4.4.1 แลว้ โปรดปฏิบตั ิกิจกรรม 4.4.1
                      ในแนวการศกึ ษาหน่วยที่ 4 ตอนที่ 4.4 เรอ่ื งที่ 4.4.1

เรือ่ งท่ี 4.4.2 	 การออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ

       การออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพเริ่มจากการกำ�หนดคำ�ถามวิจัย คำ�ถามวิจัยเชิงคุณภาพส่วนใหญ่
เป็นคำ�ถามที่ซับซ้อน วิธีการที่จะได้ข้อมูลมาต้องใช้วิธีการเชิงคุณภาพ การใช้วิธีการเชิงปริมาณจะได้ข้อมูล
ไม่ครบถ้วนเพียงพอ ซึ่งโดยส่วนมากผู้วิจัยตั้งคำ�ถามวิจัยเชิงปริมาณ เมื่อยังขาดทฤษฎีหรือข้อมูลที่เพียงพอ
สำ�หรับการทำ�วิจัยเชิงปริมาณ หลังจากนั้นจึงระบุวัตถุประสงค์ของการวิจัย ซึ่งควรสอดคล้องกับคำ�ถามวิจัย
และมีความชัดเจนเพียงพอที่จะทำ�วิจัยได้ ขั้นตอนต่อไปคือ การเลือกวิธีการวิจัย การกำ�หนดกลุ่มตัวอย่าง
การเตรยี มตวั ท�ำ งานภาคสนาม การตรวจสอบความถกู ตอ้ งของผลการศกึ ษา และแนวทางการวเิ คราะหข์ อ้ มลู

1. 	การเลอื กวิธกี ารวจิ ยั

       รปู แบบการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพทีเ่ หมาะสมกบั ค�ำ ถามวจิ ยั และวตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั เพือ่ ใหส้ ามารถ
ตอบคำ�ถามวิจัยได้ถูกต้อง รูปแบบการวิจัย การวิจัยเชิงคุณภาพมีหลายรูปแบบ รูปแบบที่สำ�คัญและใช้กัน
มากมี 4 อย่าง คือ

       1.1 การศึกษาปรากฏการณ์ศาสตร์ (phenomenology) การศึกษาปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเพื่ออธิบาย
เหตุการณ์ สถานการณ์ ประสบการณ์ หรือแนวคิดของบุคคลในปรากฏการณ์หนึ่งๆ การศึกษาว่าการปฏิรูป
การศกึ ษาสง่ ผลแนวคดิ และการปฏบิ ตั ขิ องครอู ยา่ งไร และการเปลีย่ นแปลงของครทู ีเ่ กดิ จากผลของการปฏริ ปู
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80