Page 78 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 4
P. 78

4-68 การวิจัยและสถิติทางการศึกษา

ด้วยตนเอง พร้อมๆ กับการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนั้น นักวิจัยจึงต้องมีประสบการณ์และวุฒิภาวะในการ
ตัดสินใจ

       5.2 	การวเิ คราะหด์ ว้ ยการจ�ำ แนกชนดิ ขอ้ มลู (typological analysis) คอื การจำ�แนกขอ้ มลู เปน็ ชนดิ ๆ
ทีก่ �ำ หนด เชน่ อาจก�ำ หนดใหต้ อ้ งเกบ็ ขอ้ มลู เกีย่ วกบั สถานการณ์ กจิ กรรมทีเ่ กดิ ขึน้ หรอื ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง
บุคคล เพื่ออธิบายให้เห็นความเป็นมา สาเหตุ และผลลัพธ์ของสิ่งที่วิเคราะห์

       5.3		การเปรียบเทียบโดยการเปรียบเทียบข้อมูล (constant comparison) โดยนำ�ข้อมูลมาเทียบ
กันเพื่อหาความสัมพันธ์ของข้อมูลว่ามีความเกี่ยวข้องกันอย่างไร เช่น แบบแผนทางเศรษฐกิจเกี่ยวข้องกับ
แบบแผนทางการปกครองอย่างไร มีอะไรร่วมกันบ้าง

       ประเด็นสำ�คัญที่ควรคำ�นึงในการวิจัยเชิงคุณภาพ คือ ความตรง (validity) ซึ่งความตรงของการ
วิจัยเชิงคุณภาพ หมายถึง ความเหมาะสมในการแปลความหมายและสรุปผลผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์
ของการวิจัย การจะสรุปผลการวิจัยได้ถูกต้องและเหมาะสมขึ้นอยู่กับคุณภาพของข้อมูลวิจัยที่เก็บรวบรวม
มาอย่างมาก ดังนั้น กระบวนการเก็บข้อมูลจึงมีความสำ�คัญมาก โดยทั่วไปในการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพให้
ค�ำ นงึ ถงึ ความสอดคลอ้ งของค�ำ ถามวจิ ยั ขอ้ มลู ทีไ่ ด้ และวธิ กี ารทีใ่ ช้ กลา่ วคอื วธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู ตอ้ งสอดคลอ้ ง
กับคำ�ถาม และข้อมูลที่ต้องการได้ นอกจากนี้ การถอดข้อมูล การจดบันทึกกิจกรรม และการตัดสินใจของ
ผู้วิจัยในระหว่างการวิจัยต้องมีความครบถ้วน และถูกต้องด้วย เพื่อจะได้นำ�มาวิพากษ์วิจารณ์เพื่อสนับสนุน
คุณภาพด้านความตรง

              หลงั จากศกึ ษาเนื้อหาสาระเรือ่ งท่ี 4.4.2 แลว้ โปรดปฏบิ ัติกจิ กรรม 4.4.2
                      ในแนวการศกึ ษาหน่วยที่ 4 ตอนที่ 4.4 เรื่องท่ี 4.4.2
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83