Page 82 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 4
P. 82

4-72 การวิจัยและสถิติทางการศึกษา

ครูผู้สอนนั้น เมื่อผู้วิจัยได้รับอนุญาตให้เก็บข้อมูลวิจัยจากผู้บริหารสถานศึกษาแล้ว ผู้บริหารได้แนะนำ�ให้
ผู้วิจัยได้รู้จักกับครูผู้สอน ซึ่งผู้วิจัยได้แนะนำ�ตนเอง พร้อมทั้งบอกเหตุผลและวัตถุประสงค์ในการทำ�วิจัย
การเก็บรวบรวมข้อมูล พร้อมทั้งขอความอนุเคราะห์ในการสัมภาษณ์ และสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอน เอกสาร ผลงานของครู เมื่อถึงเวลารับประทานอาหารกลางวัน ผู้วิจัยจะรับประทานกับครูผู้สอน
เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีอันเป็นประโยชน์ต่อการได้ข้อมูลที่สำ�คัญ ซึ่งผู้วิจัยได้รับความร่วมมือในการ
เก็บข้อมูลเป็นอย่างดี ในการสร้างความสัมพันธ์กับนักเรียนนั้น ผู้วิจัยได้แนะนำ�ตนเองว่าเป็นใคร มาจาก
ไหน มาทำ�อะไร โดยผู้วิจัยได้ทำ�การสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนตั้งแต่เข้าแถวเคารพธงชาติ หลังเลิกแถว
โดยสังเกตอยู่ข้างๆ ครู ในห้องพักครู ผู้วิจัยมีโอกาสเข้าสอนนักเรียนและดูแลนักเรียนแทนครูประจำ�ชั้นเมื่อ
ครูผู้สอนลา หรือติดประชุม และสอนซ่อมเสริมให้กับนักเรียนหลังเลิกเรียน ทำ�ให้ผู้วิจัยมีความใกล้ชิดและ
สนิทสนมกับนักเรียนค่อนข้างเร็ว นักเรียนจะเล่าเรื่องส่วนตัวและชีวิตในโรงเรียนให้ผู้วิจัยฟัง ผู้ปกครอง
การสร้างความสัมพันธ์กับผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนทอฝันวิทยา ผู้วิจัยจะใช้วิธีการพูดคุยกับผู้ปกครอง
นักเรียนเมื่อผู้วิจัยเดินทางไปเยี่ยมนักเรียนที่บ้าน เพราะบ้านนักเรียนอยู่บริเวณรอบโรงเรียน ซึ่งสะดวกต่อ
การเดินทางของผู้วิจัย และใช้เวลาในขณะที่ผู้ปกครองมารับนักเรียนที่บ้านพักผู้วิจัยเอง

       ระยะที่สาม เป็นการตรวจสอบข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมในประเด็นที่ยังไม่มีความชัดเจน
และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่ออธิบายการปฏิบัติงานของโรงเรียน การวิจัยในครั้งนี้ใช้วิธีการเก็บข้อมูลที่หลากหลาย
ด้วยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ต้องการอย่างครบถ้วน ประกอบด้วย แหล่งข้อมูล และวิธีการ
เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้

            1) 	แหล่งข้อมูล แหล่งข้อมูลครั้งนี้ ประกอบด้วย (1) เอกสาร คู่มือ แนวทางการดำ�เนินการ
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา เอกสารการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลของสถานศึกษา เอกสาร
ชุดคู่มือดำ�เนินงานโรงเรียน เพื่อนเด็ก คำ�สั่งแต่งตั้งการดำ�เนินงานของโรงเรียน ผลงานนักเรียน (2) บุคลากร
ที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ได้แก่ ผู้บริหาร ครูผู้สอน ครูประจำ�ชั้น นักเรียน
ผู้ปกครอง

            2) 	วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล มีดังนี้
                (1) การวิเคราะห์และศึกษาเอกสาร โดยการศึกษาเอกสารต่างๆ ของโรงเรียนและ

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น คำ�สั่งแต่งตั้งในการดำ�เนินงาน นโยบาย รายงานความก้าวหน้าในการจัดกิจกรรม
ผลงานของนักเรียน ครู และของโรงเรียน

                (2) การสังเกต ประกอบด้วย การสงั เกตแบบมสี ว่ นร่วมและไม่มสี ว่ นรว่ ม โดยจะสังเกต
สภาพแวดลอ้ มโดยทัว่ ไป ไดแ้ ก่ อาคารเรยี น หอ้ งเรยี น โรงอาหาร และกจิ กรรมตา่ งๆ เชน่ กจิ กรรมหนา้ เสาธง
กิจกรรมการนั่งสมาธิ กิจกรรมการประชุมคณะกรรมการนักเรียน มีรายละเอียดดังนี้ การสังเกตแบบมีส่วน
รว่ ม ไดท้ �ำ การสงั เกตการท�ำ หนา้ ทีข่ องครปู ระจ�ำ ชัน้ การจดั กจิ กรรมกลุม่ กอ่ นเขา้ ชัน้ เรยี น การจดั กจิ กรรมการ
เรียนการสอน การประชุมครู การประชุมคณะกรรมการนักเรียน โดยผู้วิจัยใช้กรอบการสังเกตของ Loftland
(1971) 6 หน่วย ได้แก่ (1) การกระทำ� (acts) คือ พฤติกรรมของคนที่อยู่ในพื้นที่ของกรณีศึกษาแสดงออก
ในเรื่องต่างๆ เช่น การพูดคุย การซักถาม พฤติกรรมการสอนของครู พฤติกรรมนักเรียน ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87