Page 83 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 4
P. 83
การออกแบบการวิจัย 4-73
ผู้บริหารกับครู (2) กิจกรรม (activities) คือ พฤติกรรมของคนที่อยู่ในพื้นที่ของกรณีศึกษาที่เป็นขั้นตอนใน
การงาน การกระทำ�ของคนหลายๆ คนที่แสดงความสำ�คัญและเกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่มีกระบวนการ
มีขั้นตอน แบบแผน (3) ความหมาย (meaning) คือ ผู้วิจัยสังเกตการให้ความหมายของการกระทำ�หรือ
กิจกรรมโดยคำ�พูดที่แสดงออกของกลุ่มผู้ให้ข้อมูล เช่น การรู้จักนักเรียนของครูประจำ�ชั้น การแก้ไข และ
ส่งเสริมนักเรียน (4) ความสัมพันธ์ (relation) คือ ความเกี่ยวข้องระหว่างคนในพื้นที่กรณีศึกษา เช่น ความ
สัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้บริหาร ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูผู้สอนกับนักเรียนในระหว่างการเรียนการสอน (5) การ
มีส่วนร่วมในกิจกรรม (participation) คือ การพิจารณาบทบาทของผู้ให้ข้อมูลที่แสดงบทบาทในโรงเรียน
เช่น การเข้าร่วมประชุม การทำ�งานตามที่ได้รับมอบหมาย การติดตามนักเรียน (6) สถานที่ (setting) คือ
สถานการณ์และสภาพที่เกิดขึ้นภายในโรงเรียนและห้องเรียนของครูที่เป็นผู้ให้ข้อมูล เช่น การจัดการเรียน
การสอน บรรยากาศในชั้นเรียน
สำ�หรับการสัมภาษณ์ ผู้วิจัยใช้การสัมภาษณ์ครูและผู้บริหารแบบไม่เป็นทางการ เน้น
การพูดคุยอย่างเป็นกันเอง มีลักษณะ ดังนี้ (1) การสัมภาษณ์แบบเปิดกว้างไม่จำ�กัดคำ�ตอบ ให้ผู้ให้ข้อมูล
ตอบอย่างอิสระ (2) การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก เพื่อให้ข้อมูลที่ผู้วิจัยสนใจเป็นพิเศษ (3) การสัมภาษณ์แบบ
ตะล่อมกล่อมเกลา เป็นการสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยต้องใช้ความระมัดระวังในการใช้คำ�ถาม เพื่อให้ผู้ให้ข้อมูลเปิด
เผยข้อมูลให้มากที่สุด
การวิเคราะห์เอกสาร (documentary analysis) ผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์เอกสารต่างๆ
ที่รวบรวมมาได้ นำ�มาจัดหมวดหมู่เพื่อใช้ประกอบข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์และการสังเกต รวมทั้งการ
วิเคราะห์เพื่อสรุปข้อมูล
ระยะที่สี่ ตรวจสอบข้อมูลการดำ�เนินงานช่วยเหลือนักเรียนจากนักเรียนและครูที่ปรึกษา โดยใช้
เทคนิคการสนทนากลุ่ม
การวิเคราะหข์ อ้ มลู
ผูว้ จิ ยั ไดเ้ กบ็ รวบรวมขอ้ มลู หลากหลายวธิ ี มกี ารศกึ ษาอยา่ งเปน็ กระบวนการตอ่ เนือ่ ง ท�ำ ใหว้ เิ คราะห์
ขอ้ มลู ไดท้ �ำ ควบคูก่ นั ทัง้ กระบวนการ การวจิ ยั ครัง้ นีผ้ ูว้ จิ ยั ไดว้ เิ คราะหข์ อ้ มลู 4 ลกั ษณะ ดงั นี้ (1) การวเิ คราะห์
เนือ้ หา (content analysis) โดยน�ำ เอกสารและขอ้ มลู ทีร่ วบรวมไดม้ าวเิ คราะห์ แลว้ จดั ระบบขอ้ มลู ทีว่ เิ คราะห์
ไดก้ อ่ นน�ำ มาสงั เคราะห์ แลว้ น�ำ เสนอในรปู แบบของการบรรยาย (2) การจ�ำ แนกขอ้ มลู (typological analysis)
โดยใชก้ ารจ�ำ แนกแบบใชแ้ นวคดิ ทฤษฎแี ละไมใ่ ชท่ ฤษฎี คอื การจ�ำ แนกขอ้ มลู ทจี่ ะวเิ คราะหต์ ามความเหมาะสม
กับข้อมูล (3) การเปรียบเทียบข้อมูล (constant comparative method) เปรียบเทียบการดำ�เนินงานของ
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนระหว่างพื้นที่กรณีศึกษา (4) การสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย (analytic induction)
คือวิธีตีความสร้างข้อสรุปข้อมูลจากรูปธรรม หรือปรากฏการณ์ที่มองเห็นการวิเคราะห์
หลังจากศกึ ษาเนอื้ หาสาระเร่อื งที่ 4.4.3 แล้ว โปรดปฏบิ ตั กิ ิจกรรม 4.4.3
ในแนวการศกึ ษาหนว่ ยท่ี 4 ตอนท่ี 4.4 เรอื่ งท่ี 4.4.3