Page 89 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 4
P. 89

การออกแบบการวิจัย 4-79

            1.5 	เพื่อยืนยันผลการวิจัย
            1.6 	เพื่อชดเชยจุดอ่อนของวิธีการใดวิธีการหนึ่ง
            1.7 	เพื่อให้ผลวิจัยครอบคลุมปรากฏการณ์ที่ศึกษา
       2. 	การระบุกรอบทฤษฎี สำ�หรับการวิจัยแบบผสมอาจทำ�ได้ในส่วนของการวิจัยเชิงปริมาณ ส่วน
ในขั้นตอนการทำ�วิจัยเชิงคุณภาพอาจไม่จำ�เป็นต้องมีกรอบทฤษฎี เพราะการทำ�วิจัยเชิงคุณภาพใช้ในกรณี
ที่กรอบทฤษฎียังไม่ชัดเจน แต่เมื่อได้ข้อมูลจากการวิจัยเชิงคุณภาพมาแล้ว นักวิจัยต้องอธิบายให้ได้ว่าการ
ที่บุคคลคิดหรือทำ�พฤติกรรมใดๆ นั้น อธิบายได้ด้วยทฤษฎีอะไร
       3. 	การกำ�หนดปัญหาวิจัย คำ�ถามวิจัยเชิงปริมาณส่วนใหญ่เป็นคำ�ถามที่สนใจการเปรียบเทียบใน
เชิงปริมาณ และต้องการอธิบายให้ชัดเจน การกำ�หนดปัญหาวิจัยสำ�หรับการวิจัยเชิงคุณภาพส่วนใหญ่เป็น
คำ�ถามวิจัยที่ต้องใช้การผสมผสานวิธีการเชิงปริมาณและคุณภาพในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูลมา
ตอบคำ�ถามวิจัย
       4. 	การเลือกกลุ่มตัวอย่าง การเลือกกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยแบบผสมใช้ทั้งการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
แบบใช้ความน่าจะเป็น และวิธีการเลือกอย่างเจาะจง กลุ่มตัวอย่างสำ�หรับการวิจัยเชิงปริมาณต้องมีจำ�นวน
มาก อย่างน้อย 50 คน ส่วนกลุ่มตัวอย่างจากการเลือกแบบเจาะจงมีจำ�นวน 30 คน หรือน้อยกว่า (Plano
Clark, & Creswell, 2008, p. 207.)
       5. 	การเลอื กวธิ กี ารวจิ ยั นกั วจิ ยั ตอ้ งพจิ ารณาวา่ จะเนน้ การวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณหรอื คณุ ภาพ หรอื จะผสม
กันในขั้นตอนใด ซึ่งต้องเลือกให้สอดคล้องกับปัญหาวิจัย เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เหมาะสมกับการวิจัย
       6. 	วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยแบบผสม มี 4 แบบใหญ่ ๆ คือ
            6.1 	การวิเคราะห์ร่วมกันแบบคู่ขนานกัน (parallel mixed analysis) วิธีการนี้รู้จักกันในชื่อ
ของการวิเคราะห์สามเส้าของแหล่งข้อมูล (triangulation) ซึ่งเป็นวิธีการที่ใช้กันมากที่สุดในการวิจัยแบบ
ผสม (Tashakkori, Teddlie, 2009) ในสาขาสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ ข้อมูลเชิงปริมาณ เช่น เมื่อ
มีข้อมูลจากแบบสอบถาม หรือการทดลอง นักวิจัยมักจะวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการเชิงปริมาณ เช่น ความถี่
ร้อยละ และค่าเฉลี่ย เป็นต้น ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการสัมภาษณ์ การประชุมกลุ่ม หรือข้อมูลจาก
แบบสอบถามปลายเปดิ มกั จะวเิ คราะห์ด้วยการวเิ คราะหเ์ นื้อหา อยา่ งไรก็ตาม การวเิ คราะหข์ ้อมูลอาจดำ�เนนิ
การวิเคราะหด์ ้วยวิธกี ารเชงิ ปริมาณและวธิ กี ารเชิงคุณภาพพร้อมๆ กันกไ็ ด้ เชน่ ในการสมั ภาษณ์ ผูส้ มั ภาษณ์
อาจด�ำ เนนิ การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทงั้ สองแบบทผี่ ถู้ กู สมั ภาษณต์ อบในระหวา่ งการสมั ภาษณ์ ซงึ่ เปน็ การประมวลผล
โดยใช้ดุลยพินิจของผู้สัมภาษณ์ ซึ่งการที่จะสรุปผลการสัมภาษณ์ได้ถูกต้อง ต้องอาศัยประสบการณ์และ
ความเชี่ยวชาญของผู้สัมภาษณ์มาก
            6.2 	การวเิ คราะหข์ อ้ มลู เชงิ คณุ ภาพดว้ ยวธิ กี ารเชงิ ปรมิ าณ วธิ กี ารเชน่ นีท้ �ำ ไดโ้ ดยเปลีย่ นขอ้ มลู
เชิงคุณภาพให้เป็นข้อมูลเชิงปริมาณ เช่น ในการสังเกต ผู้วิจัยอาจนับความถี่ของการตอบ เหตุการณ์ที่เกิด
ขึ้น หรือพฤติกรรมที่แสดงออกในระหว่างการสังเกต ในขณะเดียวกัน ก็ประเมินความหนัก-เบา หรือความ
รุนแรงของพฤติกรรมที่สังเกตด้วย
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94