Page 40 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 6
P. 40
6-30 การวิจัยและสถิติทางการศึกษา
2.1.2 ร่างข้อสอบ ผู้สอนร่างข้อสอบตามลักษณะของข้อสอบแต่ละจุดประสงค์การ
เรียนรู้ให้ครอบคลุมจุดประสงค์และเนื้อหาที่ต้องการวัดให้ได้ปริมาณตามสัดส่วนความสำ�คัญที่กำ�หนดไว้
และต้องคำ�นึงถึงความยากง่ายของข้อสอบด้วย โดยผู้เขียนต้องพิจารณาประเด็นเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายของ
การสอบ ลักษณะของเนื้อหาท ี่ต้องการว ัด และระดับความส ามารถข องผ ู้เรียน ทั้งนี้ เพื่อน ำ�ไปกำ�หนดค วาม
ยากง ่ายของข ้อสอบ เช่น แบบท ดสอบว ัดผลสัมฤทธิ์ท างการเรียน ผู้เขียนอ าจจ ะเขียนข ้อสอบให้มีความยาก
ง่ายป านก ลาง แต่ถ ้าเป็นแ บบท ดสอบท ี่ใช้ในก ารส อบค ัดเลือก ผู้เขียนข ้อสอบค งต้องเขียนข ้อสอบให้ม ีค วาม
ยากง่ายท ี่ค ่อนไปทางย าก
2.1.3 ทบทวนร่างข้อสอบ เป็นการตรวจสอบเพื่อให้แน่ใจว่าข้อสอบแต่ละข้อได้วัด
พฤติกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับจุดประสงค์ วัดได้ครอบคลุมเนื้อหา และข้อสอบมีความยากง่าย
เหมาะสมก ับก ลุ่มผ ู้ส อบ
2.2 การจัดทำ�ต้นร่างแบบทดสอบ เมื่อผู้สอนสร้างข้อสอบครบทุกข้อแล้ว ควรนำ�มาจัดทำ�
ต้นร่างแ บบท ดสอบ โดยน ำ�ข้อสอบมาเรียบเรียงร วมกันเป็นแ บบทดสอบซ ึ่งพร้อมที่จะนำ�ไปทดลองใช้
การจ ัดท ำ�ต้นร ่างแ บบท ดสอบ ควรพ ิจารณาก ารจ ัดเรียงข ้อสอบใหม้ ปี ระสิทธิภาพโดยค ำ�นึงถ ึง
2.2.1 ถ้าแบบทดสอบมีหลายประเภท ควรแ บ่งแ บบท ดสอบเป็นต อน ข้อสอบท ี่อยู่ใน
ตอนเดียวกันควรเป็นประเภทเดียวกัน และค วรม ีค ำ�ชี้แจงรายล ะเอียดในแ ต่ละตอนให้ผ ู้ส อบเข้าใจตรงกัน
2.2.2 แบบท ดสอบแต่ละต อนค วรเรียงล ำ�ดับตามหน่วย ตอน เรื่อง และว ัตถุประสงค์
2.2.3 ข้อสอบแต่ละข้อในแต่ละตอนควรจัดเรียงตามลำ�ดับความยากง่ายของข้อสอบ
โดยเรียงจ ากข ้อง่ายไปห าข้อย าก ตามลำ�ดับ
ขน้ั ท ี่ 3 ขนั้ ต รวจส อบค ณุ ภาพข อ้ สอบก อ่ นน �ำ ไปใช้ เมื่อส ร้างแ บบท ดสอบแ ล้วค วรน ำ�แบบท ดสอบไป
ทดลองใช้เพื่อตรวจส อบค ุณภาพ โดยผ ู้เขียนข้อสอบควรท ำ�การต รวจส อบคุณภาพในประเด็น ต่อไปนี้
3.1 ตรวจส อบค ณุ ภาพโดยก าร พจิ าณาค วามเหมาะส ม เปน็ ว ธิ พี ืน้ ฐ านส �ำ หรบั ต รวจส อบค ณุ ภาพ
โดยใช้ดุลยพินิจพิจารณาตามความเหมาะสมถูกต้องตามหลักการ โดยผู้สอนจะเป็นผู้พิจารณาเอง หรือให้
ผู้อื่นท ี่มีค วามเชี่ยวชาญเป็นผ ู้พ ิจารณาก ็ได้ โดยต รวจส อบค วามต รงต ามพ ฤติกรรมแ ละเนื้อหาท ี่ต ้องการว ัด
ตรวจส อบค วามถ ูกต ้องต ามห ลักว ิชา ตรวจส อบค วามเป็นป รนัยข องข ้อค ำ�ถาม และต รวจส อบค วามเหมาะส ม
ของเวลาแ ละระดับของผ ู้เรียน
3.2 ตรวจสอบคุณภาพโดยการทดลองใช้ เป็นการนำ�แบบทดสอบที่จะดำ�เนินการวัดและ
ประเมินผ ลไปใช้ก ับก ลุ่มเป้าห มายท ี่ม ีล ักษณะใกล้เคียงก ับก ลุ่มเป้าห มาย เพื่อน ำ�ผลม าว ิเคราะห์ค ุณภาพข อง
เครื่องมือก ่อนน ำ�ไปใช้จ ริง สามารถต รวจสอบได้ ดังนี้ 1) คุณภาพข องแ บบท ดสอบร ายข้อ ได้แก่ ความยาก
(difficulty) และอำ�นาจจำ�แนก (discrimination) 2) คุณภาพของแบบทดสอบทั้งฉบับ ได้แก่ ความตรง
(validity) และความเที่ยง (reliability)
หลังจากตรวจสอบคุณภาพข้อสอบก ่อนน ำ�ไปใช้แล้ว จึงน ำ�ข้อสอบไปใช้ว ัดผลการเรียนร ู้ของ
ผู้เรียน ผู้สอนต้องคำ�นึงถึงปัจจัยรอบด ้านท ี่จะมีอิทธิพลต่อการส อบข องผ ู้เรียน ดังนี้