Page 37 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 37

วิวัฒนาการข​ อง​การป​ ฐมวัยศ​ ึกษา 1-27
       หลกั ก​ ารส​ อนท​ ่ี​ส�ำ คญั ​ของโ​คเ​มน​ ิ​อุส
       หลักก​ าร​สอนท​ ี่ส​ ำ�คัญข​ องโ​ค​เม​นิอ​ ุส (ชัย​ยงค์ พรหมว​ งศ์ 2543) มี​ดังต​ ่อ​ไป​นี้
       1.	 ใช้ว​ ิธี​การส​ อน​โดยเ​ลียน​แบบ​ธรรมชาติ เนื้อหา​สาระ​ต้องจ​ ัดใ​ห้เ​หมาะ​สมก​ ับว​ ัย​ของ​ผู้​เรียน
       2.	 ควรเ​ริ่มเ​รียนจ​ ากว​ ัยท​ ารก และค​ วรอ​ อกแบบใ​ห้เ​หมาะส​ มก​ ับอ​ ายุ ความส​ นใจแ​ ละค​ วามส​ ามารถ​
ของ​ผู้​เรียน ควร​สอนส​ ิ่ง​ที่ม​ ีค​ ุณค่า​ต่อ​ผู้เ​รียนท​ ี่จ​ ะน​ ำ�​ไป​ใช้​ใน​ชีวิตป​ ระจำ�​วัน​ได้
       3.	 ควร​จำ�แนกแ​ ละเ​รียงล​ ำ�ดับ​เนื้อหา​ตามค​ วาม​ยากง​ ่ายแ​ ละ​สอนด​ ้วยว​ ิธีก​ ารอ​ นุมาน
       4.	 ควร​มีแ​ บบ​เรียนท​ ี่​มี​ภาพป​ ระกอบ​ควบคู่ไ​ปก​ ับก​ าร​สอน
       5.	 ต้อง​สอน​ตามล​ ำ�ดับ​ความส​ ำ�คัญก​ ่อน​หลัง เช่น สอนภ​ าษา​แม่​ก่อน​ภาษา​ต่างป​ ระเทศ
       6.	 ควรอ​ ธิบาย​หลักก​ าร​และแ​ นวคิด พร้อม​กับ​ยก​ตัวอย่างป​ ระกอบ
       7.	 ควรส​ อน​การ​อ่านแ​ ละเ​ขียน​ด้วย​กัน รวมทั้งสัมพันธ์​เนื้อหา​วิชาใ​ห้ม​ ากท​ ี่สุด
       8.	 ควร​ใช้​วิธีก​ าร​สัมผัส โดย​หาข​ อง​จริงม​ าใ​ห้ผ​ ู้เ​รียน​ศึกษาป​ ระกอบ​อธิบาย
       9.	 ควร​สอนเ​นื้อหาแ​ บบ​บรรยาย แล้ว​มีภ​ าพ​ประกอบ​ทุกเ​มื่อท​ ี่ท​ ำ�ได้
       10.	ควร​เรียน​เนื้อหา​ตาม​ลำ�ดับ ตำ�แหน่ง และ​ความ​สัมพันธ์​กับส​ ิ่งอ​ ื่น ไม่​ควรส​ อนเ​รื่องใ​ดเ​รื่องห​ นึ่ง​
เพียง​อย่าง​เดียว ควร​มี​โครง​ร่างเ​นื้อหาต​ ิดไ​ว้บนผ​ นัง
       11.	ไม่​ควร​ลงโทษ​ด้วย​การเ​ฆี่ยนต​ ี เมื่อผ​ ู้​เรียน​ตอบผ​ ิด​หรือส​ อบ​ตก
       12.	ควรจ​ ัดโ​รงเรียนใ​หม้​ บี​ รรยากาศร​ ่าเริง มวี​ ัสดอุ​ ุปกรณ์ และม​ คี​ รทู​ ีม่​ คี​ วามเ​ข้าใจผ​ ู้เรียน  ครหู​ นึ่งค​ น
อาจส​ อน​ได้ห​ ลาย​ร้อยค​ นพ​ ร้อมก​ ัน เมื่อส​ อน​กลุ่มใ​หญ่แ​ ล้ว​ก็ค​ วร​แบ่งเ​ป็นก​ลุ่มย​ ่อยๆ
       รุส​โซ (Rousseau, 1712-1778) เป็น​นัก​ปราชญ์​ชาว​ฝรั่งเศส เกิด​ใน​ประ​เทศ​ส​วิต​เซอร์​แลนด์ แต่​ใช้​
ชีวิต​ส่วนใ​หญ่อ​ ยู่ใ​นป​ ระเทศฝ​ รั่งเศส
       ใน​ปี ค.ศ. 1762 รุส​โซ​ได้​เขียน​หนังสือ​และ​ตี​พิมพ์​ออก​มา​เล่ม​หนึ่ง ชื่อ เอ​มิล (Emile) ใน​หนังสือ​
เล่ม​นี้​ได้​วิจารณ์ก​ าร​จัดการศ​ ึกษาใ​น​สมัย​นั้น ซึ่งม​ ี​ลักษณะ​บังคับ กำ�หนด​ทักษะพ​ ื้น​ฐาน​ในก​ ารเ​รียน​รู้ ใช้แ​ บบ​
ทดสอบ​มาตรฐาน และ​แบ่ง​กลุ่ม​เด็กต​ าม​ความส​ ามารถ รุสโ​ซ​คิด​ว่า​สิ่ง​เหล่าน​ ี้ไ​ม่ใช่เ​ป็น​ธรรมชาติ แต่เ​ป็นการ​
ควบคุมธ​ รรมชาติ จึงไ​ด้​เสนอแ​ นวคิด​ใน​การ​จัดการ​ศึกษา ซึ่งม​ ี​ความ​สำ�คัญ​ต่อ​การศ​ ึกษาใ​นร​ ะยะต​ ่อม​ า ดังนี้
       1.	 การ​จัดการ​ศึกษา​ควร​ให้​สอดคล้อง​กับ​ธรรมชาติ​และ​พัฒนาการ​ของ​เด็ก รวม​ทั้ง​ความ​แตก​ต่าง​
ระหว่าง​บุคคล รุส​โซ​เชื่อว​ ่า เด็กไ​ม่ใช่​ผู้ใหญ่ตัวเ​ล็กๆ และส​ ามารถ​ทำ�​สิ่งต​ ่างๆ ได้เ​หมือนผ​ ู้ใหญ่​ตามค​ วาม​คิด​
เดิม​ของ​คนใน​สมัย​นั้น แต่​เด็ก​ก็​คือ​เด็ก​โดย​ธรรมชาติ ดัง​นั้น เด็ก​จึง​ควร​เติบโต​ไป​ตาม​ธรรมชาติ แนวคิด​นี้​
เป็น​แนวคิด​ใหม่​ซึ่งร​ ุสโ​ซ​ได้เ​สนอ​เป็นค​ นแ​ รก
       2.	 ทฤษฎีพ​ ัฒนาการ​เด็ก รุสโ​ซ​ได้พ​ ัฒนา​ทฤษฎีพ​ ัฒนาการ​ตามล​ ำ�ดับข​ ั้น​ตอน 4 ขั้น โดย​เชื่อว​ ่า การ​
ให้การ​ศึกษา​ควรเ​ริ่ม​ตั้งแต่เ​ด็กแ​ รก​เกิด และ​ดำ�เนินต​ ่อไ​ปจ​ นถึง​อายุ 25 ปี แต่ใ​นท​ ี่น​ ี้จ​ ะ​กล่าวเ​พียง 2 ขั้น​แรก​
เท่านั้น ขั้น​แรก​ของ​พัฒนาการ​คือ ช่วง​อายุ​แรก​เกิด​ถึง 5 ปี ใน​ขั้น​นี้​เด็ก​จะ​เรียน​รู้​จาก​กิจกรรม​ทาง​ร่างกาย
ขั้นท​ ี่ส​ องข​ อง​พัฒนาการค​ ือ ช่วง​อายุ 5 ถึง 12 ปี ใน​ขั้น​นี้เ​ด็ก​จะ​เรียน​รู้ไ​ด้​ดีท​ ี่สุด​จากป​ ระสบการณ์ต​ รงข​ อง​เด็ก
และ​จาก​การ​สำ�รวจ​สิ่ง​แวดล้อม​รอบ​ตัว​เด็ก แนวคิด​ใน​เรื่อง​การ​เรียน​จาก​ประสบการณ์​ตรง​และ​การ​สำ�รวจ​
สิง่ แ​ วดลอ้ มน​ ี้ ไดร้​ บั ก​ ารส​ นบั สนนุ จ​ ากน​ ักการศ​ ึกษาใ​นย​ ุคต​ อ่ ม​ าอ​ ีกห​ ลายท​ ่าน  อาทิ  เปสต​ าลอส​ ซ​ ี  เฟร​ อเ​บล ดุย
และ​พีอ​ า​เจต์
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42