Page 41 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 41
วิวัฒนาการข องการป ฐมวัยศึกษา 1-31
ระยะต่อมารัฐบาลเยอรมนีได้ยกเลิกคำ�สั่งห้ามตั้งโรงเรียนอนุบาล เบอร์ทาจึงกลับไปอยู่ประเทศ
เยอรมนี และตั้งโรงเรียนอนุบาลตามแนวคิดของเฟรอเบลขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ทำ�ให้แนวคิดของเฟรอเบลกลับ
ไปแ พร่ห ลายในป ระเทศเยอรมนีอ ีกค รั้งห นึ่ง
3. ระยะก�ำ เนิดโรงเรียนอ นบุ าลแห่งแ รกในส หรฐั อเมริกา
ในป ี ค.ศ. 1856 แนวคดิ เกีย่ วก บั ก ารอ นบุ าลข องเฟร อเบลไดเ้ ริม่ แ พรห่ ลายไปย งั ป ระเทศส หรฐั อเมรกิ า
โดยเริ่มจ ากล ูกศ ิษย์ข องเฟร อเบลค นห นึ่งช ื่อ นางเชอร ์ช (Mrs. Schurz) ได้ต ั้งโรงเรียนอ นุบาลแ ห่งแ รกข ึ้นใน
ประเทศส หรัฐอเมริกาท ีเ่มืองว อเตอรท์ าวน์ (Water Town) มลรัฐว ิสคอนซิน (Wisconsin) โดยจ ัดข ึ้นในบ ้าน
ของเธอเอง ใช้ภ าษาเยอรมันจ ัดสอนให้กับล ูกห ลานกลุ่มเล็กๆ กลุ่มห นึ่ง
ระยะต่อมานางเชอร์ช ได้มีโอกาสพบกับพีบอดี้ (Peabody) ที่เมืองบอสตัน (Boston) และได้
พูดคุยกันเกี่ยวกับการอนุบาลตามแนวคิดของเฟรอเบล พีบอดี้เกิดความเลื่อมใสในแนวคิดของ เฟรอเบล
จึงตั้งโรงเรียนอนุบาลตามแนวคิดของเฟรอเบลขึ้นที่เมืองบอสตัน (Boston) มลรัฐแมสซาชูเซทส์
(Massachusetts) ในปี ค.ศ. 1860 นับเป็นโรงเรียนอ นุบาลเอกชนที่ใช้ภาษาอ ังกฤษส อนเป็นแ ห่งแ รก และ
ในปี ค.ศ. 1867 พีบอดี้เดินทางไปประเทศเยอรมนีเพื่อศึกษางานของเฟรอเบลเพิ่มเติม หลังจากนั้นได้
เดินท างก ลับไปย ังป ระเทศส หรัฐอเมริกา และไดก้ ลายเป็นผ ูม้ อี ิทธิพลต ่อก ารอ นุบาลในป ระเทศส หรัฐอเมริกา
อย่างมากในร ะยะนั้น
โรงเรียนอ นุบาลข องร ัฐแ ห่งแรกในป ระเทศสหรัฐอเมริกา ตั้งข ึ้นในป ี ค.ศ. 1873 ที่เมืองเซนต์หลุยส์
(St. Louis) โดย ฮอ รีสและโบลว์ (Horris and Blow) ผู้ที่เคยไปด ูงานการอนุบาลที่ประเทศเยอรมนี และ
ได้รับอิทธิพลจากแนวคิดของเฟรอเบล ต่อจากนั้นการอนุบาลในประเทศสหรัฐอเมริกาก็ได้พัฒนาเรื่อยมา
ตามล ำ�ดับ
4. ระยะก�ำ เนดิ โรงเรยี นอ นบุ าลต ามแนวคดิ ข องม อนเตสซ อรี (Montessori, 1870-1952)
มอนเตสซ อร ี เปน็ น กั จ ติ วทิ ยาช าวอ ติ าลี และเปน็ ส ตรคี นแ รกท ไี่ ดร้ บั ป รญิ ญาท างการแ พทย์ ความค ดิ
ของมอนเตสซอรีได้รับอิทธิพลจากเปสตาลอสซี เฟรอเบล ฟรอยด์ และแพทย์ชาวฝรั่งเศส ผู้พัฒนาการ
ช่วยเหลือเด็กที่มีความบกพร่องทางสมอง มอนเตสซอรีประสบความสำ�เร็จในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่
มีค วามบกพร่องท างส มอง ซึ่งในสมัยนั้นถือว่าเป็นผ ู้ไม่มีค วามส ามารถท างการเรียน ในป ี ค.ศ. 1970 เธอได้
จัดตั้ง บ้านเด็ก (Children’s House) หรือ “โรงเรียน” ขึ้นท ี่กรุงโรม ประเทศอิตาลี เพื่อท ดลองนำ�วิชาการที่
ใช้ก ับเด็กท ี่ม ีความบกพร่องท างส มองไปใช้ก ับเด็กปกติ จากการสังเกต มอนเตสซอร ีสรุปว ่า สติปัญญาของ
คนเราน ั้นไม่ห ยุดค งที่ แต่ส ามารถก ระตุ้นใหพ้ ัฒนาข ึ้นได้ โดยเชื่อว ่าเด็กจ ะเรียนไดด้ ที ี่สุดด ้วยก ารใชป้ ระสาท
สัมผัสของตัวเองกับสิ่งแวดล้อมรอบตัว ซึ่งจะพัฒนาไปสู่ความรู้และทักษะเฉพาะอย่าง เด็กมีแรงจูงใจที่จะ
เรียนรู้โดยการสำ�รวจหาประสบการณ์ที่เหมาะสมกับวัยของตน มอนเตสซอรีสนใจคุณภาพของเด็ก ความ
เป็นอ ิสระ และค วามเป็นตัวของต ัวเองเป็นอย่างม าก