Page 45 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 45

วิวัฒนาการข​ อง​การป​ ฐมวัยศ​ ึกษา 1-35

       ดัง​ได้​กล่าว​ไว้​ข้าง​ต้น​ว่า ประเทศ​สหรัฐอเมริกา​เป็น​ประเทศ​ใหญ่​ที่​มี​ประชากร​มา​จาก​หลาย​เชื้อ​ชาติ
หลาย​ภาษา ใน​ปัจจุบัน​จำ�นวน​คน​ที่​ย้าย​เข้า​มา​ตั้ง​หลัก​แหล่ง​ใน​ประเทศ​สหรัฐอเมริกา​ยิ่ง​เพิ่ม​จำ�นวน​มาก​ขึ้น​
อย่าง​รวดเร็ว ซึ่ง​การ​อพยพ​เข้า​มา​ของ​กลุ่ม​คน​ดัง​กล่าว ส่ง​ผลอ​ย่าง​มาก​ต่อ​การ​จัดการ​ศึกษา​ของ​ประเทศ
โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​การ​จัดการ​ปฐมวัย​ศึกษา เนื่องจาก​เป็นการ​จัดการ​ศึกษา​ที่​ช่วย​ให้​เด็ก​สามารถ​ปรับ​ตัว​ให้​
เข้าก​ ับส​ ภาพแ​ วดล้อม​ใหม่ ดัง​นั้น การจ​ ัดการ​ปฐมวัยศ​ ึกษาท​ ี่​จะส​ ามารถ​สนองต​ อบ​ต่อ​ความ​หลาก​หลายข​ อง​
ผู้เ​รียน จึงเ​ป็น​ประเด็นท​ ี่​กำ�ลังไ​ด้ร​ ับค​ วาม​สนใจเ​ป็น​อย่างม​ าก​จาก​นักว​ ิชาการ ครู​และบ​ ุคลากร​ที่เ​กี่ยวข้อง​กับ​
การป​ ฐมวัยศ​ ึกษา ในเ​รื่องน​ ี้จ​ ะก​ ล่าวถ​ ึงแ​ นวทางใ​นก​ ารจ​ ัดการศ​ ึกษาเ​พื่อใ​ห้ส​ อดคล้องก​ ับส​ ภาพก​ ารณ์ด​ ังก​ ล่าว​
ใน 2 ประเด็นท​ ี่ส​ ำ�คัญ คือ

       1.	 การจ​ ดั การป​ ฐมวยั ศ​ กึ ษาท​ ส​ี่ อดคลอ้ งก​ บั ค​ วามห​ ลากห​ ลายท​ างว​ ฒั นธรรม   ศนู ยส​์ ถติ เ​ิ พือ่ ก​ ารศ​ กึ ษา
ร​ ะดับ​ชาติ (The National Center for Education Statistics) ระบุว​ ่า ใน​ปี ค.ศ. 2005 มี​เด็ก​ปฐมวัย​ที่​เป็น​
ชนกล​ ุม่ น​ อ้ ยอ​ ยูใ่​นป​ ระเทศส​ หรัฐอเมริกาเ​กือบค​ รึ่งห​ นึง่ ข​ องป​ ระชากรป​ ฐมวยั ท​ ั้งหมดใ​นป​ ระเทศ และส​ ว่ นใ​หญ​่
ของเ​ด็กก​ ลุ่มน​ ีอ้​ ยูใ่​นศ​ ูนยพ์​ ัฒนาเ​ด็กเ​พื่อเ​ตรียมเ​ข้าเ​รียนใ​นร​ ะดับอ​ นุบาลศ​ ึกษาต​ ่อไ​ป เด็กก​ ลุ่มน​ ีป้​ ระกอบด​ ้วย
เด็ก​อเมริกัน​เชื้อ​สายอัฟร​ ิ​กัน ร้อยล​ ะ 14 เด็ก​อเมริกันเ​ชื้อ​สายฮ​ ิ​ส​พาน​ ิก ร้อย​ละ 20 และเ​ด็กอ​ เมริกันเ​ชื้อ​สาย​
เอเชีย กับ​เด็กใ​นห​ มู่เ​กาะแ​ ปซิฟิก ร้อยล​ ะ 9 (U.S. Department of Education, 2007 อ้างถ​ ึงใ​น Cohen,
2009: 72) ใน​ปี ค.ศ. 2003 มี​คน​อพยพ​เข้า​มาอ​ ยู่ใ​น​ประเทศส​ หรัฐอเมริกาป​ ระมาณ 34 ล้าน​คน คิดเ​ป็นเ​กือบ​
ร้อยล​ ะ 12 ของ​ประชากรใ​นป​ ระเทศ และ​ส่วน​ใหญ่ไ​ม่​สามารถ​พูดภ​ าษาอ​ ังกฤษไ​ด้ (Matthews and Ewen,
2006 อ้าง​ถึง​ใน Cohen, 2009: 72) ด้วย​เหตุ​นี้​การ​จัดการ​ศึกษา​ปฐมวัย​ใน​ประเทศ​สหรัฐอเมริกา​จึง​ต้อง​
มกี​ ารพ​ ัฒนา ปรับเ​ปลี่ยนห​ ลักสูตร และร​ ูปแ​ บบก​ ารจ​ ัดก​ ิจกรรมก​ ารเ​รียนร​ ูท้​ ีส่​ ามารถส​ ะท้อน ส่งเ​สริมส​ นับสนุน
และเ​คารพใ​นค​ ณุ คา่ ข​ องค​ วามห​ ลากห​ ลายท​ างภ​ าษา ศาสนา ประเพณแ​ี ละว​ ฒั นธรรม รวมถ​ งึ ฐ​ านะท​ างเ​ศรษฐกจิ ​
และ​สังคมข​ องเ​ด็กแ​ ต่ละ​คน​ที่​อยู่​ในห​ ้องเรียน ซึ่งค​ วาม​หลากห​ ลายด​ ัง​กล่าวจ​ ะ​ยิ่งม​ ีม​ ากข​ ึ้นใ​นอ​ นาคต

       สิ่ง​ที่​ท้าทาย​นักการ​ศึกษา​ปฐมวัย​และ​ครู​ปฐมวัย​ของ​ประเทศ​สหรัฐอเมริกา​ใน​ปัจจุบัน คือ การ​จัด​
โปรแกรมก​ าร​ศึกษาป​ ฐมวัย​ให้ส​ ามารถ​สนองค​ วาม​ต้องการ​ของเ​ด็กท​ ี่ม​ ีค​ วาม​หลาก​หลายด​ ังก​ ล่าว​ได้ การ​เปิด​
โอกาสใ​หเ้​ดก็ ไ​ดเ้​ล่นแ​ ละม​ ป​ี ฏิสัมพันธท์​ างส​ งั คม เป็นแ​ นวทางห​ นึ่งท​ ีจ่​ ะช​ ว่ ยใ​หเ้​ดก็ ไ​ดเ้​รยี นร​ ูเ​้ กี่ยวก​ ับว​ ฒั นธรรม​
ที่​สืบทอด​ต่อ​กัน​มา​ของ​กัน​และ​กัน​ได้ เพราะ​การ​เล่น​เป็น​ธรรมชาติ​ของ​เด็ก​วัย​นี้ และ​มี​ความ​สำ�คัญ​อย่าง​ยิ่ง​
ใน​การส​ ่งเ​สริม​พัฒนาการ​และ​การเ​รียน​รู้ ขณะเ​ล่น​ด้วยก​ ัน เด็กไ​ด้​เล่น​บทบาทส​ มมติ ได้​พูดค​ ุย​กับเ​พื่อนเ​พื่อ​
วางแผน​การ​เล่น ได้​ช่วย​กัน​แก้ไข​ปัญหา​ข้อ​ขัด​แย้ง​ที่​อาจ​เกิด​ขึ้น​ระหว่าง​เล่น สิ่ง​สำ�คัญ​ที่​ครู​ต้อง​มี คือ การ​
ยอมรับ เห็นค​ วามส​ ำ�คัญ และเ​คารพใ​นค​ วามห​ ลากห​ ลายท​ างว​ ัฒนธรรม​ของเ​ด็กแ​ ละค​ รอบครัว ถึงแ​ ม้​ครู​และ​
ผู้ป​ กครอง​จะม​ ี​มุม​มองเ​กี่ยว​กับต​ ัวเ​ด็ก​ใน​บริบท​ที่แ​ ตก​ต่าง​กัน แต่​ทั้งค​ รู​และ​ผู้ป​ กครอง​มีจ​ ุด​มุ่ง​หมาย​เดียวกัน
คือ ต้องการ​ช่วยใ​ห้เ​ด็ก​ได้​รับ​การพ​ ัฒนา​และ​สามารถเ​รียน​รู้ไ​ด้อ​ ย่าง​เหมาะส​ มก​ ับ​วัย ดังน​ ั้น​ การใ​ห้ค​ รอบครัว​
เข้า​มา​ร่วม​ใน​การ​พัฒนา​เด็ก (Family Engagement) จึง​มี​ความ​สำ�คัญ​อย่าง​ยิ่ง​ต่อ​การ​ส่ง​เสริม​พัฒนาการ​
และ​การ​เรียน​รู้ข​ อง​เด็ก ดังท​ ี่ฮ​ ัลก​ ัน​เซท (Halgunseth, 2009: 57-58) ได้เ​สนอแ​ นะแนวท​ างในก​ ารส​ ่งเ​สริม​ให้​
ผู้ป​ กครอง​เข้าร​ ่วม​ในก​ ารพ​ ัฒนาเ​ด็ก​ที่​มีค​ วาม​หลาก​หลายท​ าง​วัฒนธรรมไ​ว้ ดังนี้
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50