Page 44 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 44
1-34 หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
เคทส์ (Katz) กล่าวว่า สิ่งสำ�คัญสำ�หรับครูที่จะต้องคำ�นึงถึง คือ ผลที่เด็กจะได้รับจากการจัด
ประสบการณ์ต ่างๆ ของค รู โรงเรียนเปรียบเสมือนแหล่งที่ได้ม าซ ึ่งความรู้ ทัศนคติ ทักษะ และอุปนิสัยใจคอ
เช่น การส อนใหเ้ด็กอ ่านไดน้ ั้นไม่ใชอ่ ยูท่ ีก่ ระบวนการเท่านั้น แตอ่ ยูท่ ีก่ ารท ำ�ใหเ้ด็กร ู้สึกร ักในการอ ่าน เพื่อท ีจ่ ะ
ได้ค งพ ฤติกรรมนี้ต ่อไป การจ ัดก ิจกรรมท างว ิชาการท ี่ไม่เหมาะสมก ับเด็กน ั้นถ ือว่า เป็นการทำ�ลายค วามร ู้สึก
ของเด็ก ทำ�ให้เด็กคิดว่าตนเองเป็นผู้ที่ไม่มีความสามารถ (Brewer, 1992) นอกจากนี้ เคทส์ยังได้แนะนำ�
ให้เห็นถึงความสำ�คัญที่เด็กควรจะได้รับความรัก และรู้สึกว่าตนเองเป็นผู้ที่ถูกคนอื่นรัก ทั้งยังรู้สึกด้วยว่า
อะไรก ็ตามที่ต นทำ� หรือไม่ได้ท ำ� ล้วนแต่มีค วามสำ�คัญต ่อคนอ ื่น (Eliason & Jenkins, 1990)
เอลไคนด์ (Elkind) เน้นให้เห็นถึงอันตรายในก ารเร่งรัดเด็กให้เรียนร ู้ท างว ิชาการม ากเกินไปตั้งแต่
ยังเล็ก เอลไคนด์เห็นว่าเด็กในปัจจุบันนี้ถูกเร่งรัดจากพ่อแม่จนทำ�ให้เด็กเกิดความเครียดและวิตกกังวล
เอลไคนดพ์ ยายามท จี่ ะช ใี้ หเ้ หน็ ว า่ สมยั น ผี้ ูใ้ หญเ่ รง่ รดั เดก็ จ นเกนิ ก �ำ ลงั อ ยา่ งไร ความค ดิ ใหมเ่ กีย่ วก บั ค วามเกง่
ของเด็ก ทำ�ให้ผู้ใหญ่คิดเองว่า จะเร่งรัดเด็กได้โดยมิต้องคำ�นึงถึงความเสียหายใดๆ ในภายหลัง (Elkind,
1988; Brewer, 1992) นอกจากน ี้ จะเห็นสังคมอ เมริกันท ุกวันน ี้ มีค ่าน ิยมทางวัตถุ เด็กเก่งหรือซูเปอร์คิด
จึงได้รับก ารส นับสนุนร อบด ้าน ในระบบก ารศ ึกษาก ็มีก ารป ฏิรูปข ยายห ลักสูตร เพิ่มว ัน เวลาในการเรียน ให้
การบ้านมากขึ้น เพื่อใช้ประโยชน์จากการเป็นซูเปอร์คิด มองเห็นความเครียดในตัวเด็กเป็นเรื่องธรรมดา
เอลไคนด์พยายามที่จะมุ่งให้พ่อแม่ นักการศึกษา และผู้เกี่ยวข้องกับเด็กตระหนักว่า ความกดดันนั้นมีจ ริง
ในส ังคมทุกว ันน ี้ จะได้หาทางช่วยให้เด็กรับมือกับความเครียดน ั้นได้อย่างม ีประสิทธิภาพ เอลไคนด์จึงเชื่อ
ว่า เด็กควรได้รับการสนับสนุนให้เล่นอย่างจริงจัง และเลือกทำ�กิจกรรมด้วยตนเอง เพื่อที่จะได้ต้านทาน
ความเครียดที่ม ีอยู่ในโลกท ุกว ันนี้ (Brewer, 1992)
ไวท์คาร์ท (Weikart) ได้พัฒนาโปรแกรมไฮ/สโคพ (High/Scope) ที่มีพื้นฐานอยู่บนทฤษฎีของ
พีอาเจต์ โดยมีหลักการที่ช่วยให้เด็กได้มีโอกาสเลือก ตัดสินใจ แก้ปัญหาและกระทำ�สิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง
ทั้งยังสนับสนุนการกระทำ� และการใช้ภาษาของเด็ก รวมถึงการคงไว้ซึ่งสิ่งแวดล้อมที่สะดวกและปลอดภัย
(Brewer, 1992) ไวท์คาร์ทและคณะ ได้ทำ�การทดลองโปรแกรมนี้มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1962 โดยเน้นให้เด็กมี
โอกาสวางแผนและระลึกย้อนกลับถึงกิจกรรมที่ทำ�ด้วยตนเอง หัวใจสำ�คัญของการจัดสภาพแวดล้อมใน
ห้องเรียน คือ การจ ัดพ ื้นที่เปิดกว้างส ำ�หรับก ิจกรรมก ลุ่ม และก ิจกรรมส ำ�หรับก ล้ามเนื้อใหญ่ โดยล ้อมร อบ
ด้วยม ุมป ระสบการณ์ต ่างๆ เด็กถ ูกค าดห วังว ่าจะท ำ�กิจกรรมต ่างๆ ตามล ำ�ดับในแต่ละว ัน ส่วนค รูก็จ ะด ำ�เนิน
กิจกรรมต ามตารางกิจกรรมป ระจำ�วันอย่างเสมอต ้นเสมอป ลาย (Berk, 1988)
ผลการทดลองของไวท์คาร์ทและคณะแสดงให้เห็นว่า เด็กที่เรียนในโปรแกรมไฮ/สโคพมีอัตรา
พฤติกรรมป ัญหาทางส ังคมตํ่า มีผลส ัมฤทธิ์ท างการเรียนด ้านการอ่าน เลขคณิต และภาษาส ูงกว่าเด็กอื่นใน
ทุกร ะดับชั้น (Berk, 1988) ดังน ั้น จ ึงเป็นข้อส นับสนุนให้เห็นความส ำ�คัญของการเข้าเรียนในส ถานศ ึกษาท ี่ดี
มีค ุณภาพ เพราะโปรแกรมท ี่ดีม ีคุณภาพส ูงจ ะม ีผลถึงความแ ตกต ่างข องช ีวิตเด็กในร ะยะย าว ความแ ตกต ่าง
นี้มิได้เกิดขึ้นเฉพาะเด็ก แต่จ ะเกิดกับช ุมชนและสังคมด้วยเช่นก ัน
มูลนิธกิ ารศ ึกษาไฮ/สโคพ ยังได้จ ัดพ ิมพห์ นังสือ สิ่งพ ิมพต์ ่างๆ ที่จ ะช ่วยใหค้ รูป ฐมวัยเข้าใจก ารส อน
ภาษา เลขคณิต และกิจก รรมอื่นๆ ด้วยวิธีการตามแบบไฮ/สโคพ