Page 49 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 49
วิวัฒนาการของก ารปฐมวัยศ ึกษา 1-39
1) การท ำ�ความเข้าใจส ิ่งท ีจ่ ะส ื่อสาร (Comprehensible input) หมายถ ึง การใหเ้ด็กท ำ�ความ
เข้าใจก ับส ิ่งที่จะสื่อสารมากกว่าวิธีการสื่อสาร
2) การทดลองใช้ภ าษาท ี่ส องในการสื่อสาร (Production) หมายถ ึง ขั้นตอนที่เด็กท ดลองใช้
ภาษาท ี่สองในก ารส ื่อสาร เริ่มจาก 1) การใช้ภ าษาท ่าทาง เช่น พยักหน้า สั่นศีรษะ ชี้มือ ฯลฯ 2) การใช้ค ำ�
พยางค์เดียว เช่น ใช่ ชอบ นม ฯลฯ 3) การรวมค ำ� 1-2 คำ�เข้าด้วยก ัน เช่น ไม่ใช่ ไม่ชอบ ฯลฯ 4) การใช้วลี
เช่น อยากเล่น อยากห าแ ม่ ฯลฯ 5) การใชป้ ระโยคง ่ายๆ เช่น เมื่อเช้าท านข ้าวต้ม ฯลฯ และ 6) การใชป้ ระโยค
ทีซ่ ับซ ้อน เช่น เมื่อค ืนน ้องต ื่นม าร ้องก ลางด ึก ปลุกท ุกค นต ื่นห มด พ่อก ับแ มก่ ังวลก ับน ้อง ทำ�ใหฉ้ ันโมโหม าก
ฯลฯ
3) การกำ�หนดเป้าหมายของการสื่อสาร (Communicative goals) หมายถึง การกำ�หนด
หัวข้อแ ละกิจกรรมท ี่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินช ีวิตป ระจำ�วัน ให้เด็กทำ�เพื่อส่งเสริมการเรียนร ู้ทางภ าษา
4) การกำ�หนดหัวข้อให้เด็กแสวงหาความรู้ (Inquiry topics) หมายถึง การกำ�หนดเรื่อง
ที่สอดคล้องกับความสนใจ ความต้องการ และเหมาะสมกับเด็กให้สืบเสาะแสวงหาความรู้ เพื่อส่งเสริม
การค ิด และการใช้ภาษา เช่น เรื่องไดโนเสาร์ ฯลฯ
นอกจากแนวทางการจัดกิจกรรมดังกล่าว ครูอาจจัดกิจกรรมแบบโครงการซึ่งมีแนวคิดพื้นฐาน
มาจ ากปรัชญาคอนส ตรัคต ิวิสต์ที่เปิดโอกาสให้เด็กได้ศึกษาหาข้อมูลอย่างลุ่มลึกในเรื่องที่เด็กๆ สนใจ เด็ก
ต้องอ ภิปรายแ ละแ สดงค วามค ิดเห็น และป รึกษาห ารือร ่วมก ันในก ารส ืบค้นข ้อมูลในก ลุ่มย ่อย ต้องส ัมภาษณ์
และบันทึกข้อมูลที่สืบค้นมาได้ รวมทั้งต้องนำ�เสนอข้อมูลที่รวบรวมมาได้ทั้งหมดในขั้นตอนสุดท้าย
ของโครงการ กิจกรรมต่างๆ เหล่านี้ล้วนเปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้ภาษาที่สองทั้งสิ้น (Pate, 2009: 13)
นอกจากนี้ไพรเอทโต (Prieto, 2009: 52-53) ยังได้เสนอให้ครูปฐมวัยและผู้ปกครองจัดกิจกรรมด้วย
ความม ุ่งม ั่นต ั้งใจอ ย่างต ่อเนื่อง เพื่อส ่งเสริมก ารเรียนร ู้ภ าษาท ี่ส องข องเด็กป ฐมวัยท ั้งท ี่บ ้านแ ละท ี่ส ถานศ ึกษา
ดังต ัวอย่างต ่อไปน ี้
1. ตัวอย่างก ิจกรรมเสนอแนะส ำ�หรับครูป ฐมวัย มีดังนี้
1.1 ให้เด็กมีโอกาสได้ร่วมสนทนาในระหว่างปฏิบัติกิจวัตรประจำ�วันทุกวัน เช่น ในช่วงรับ
ประทานอาหาร ก่อนนอนในช่วงกลางว ัน ฯลฯ
1.2 อ่านหนังสือ โคลงกลอนที่ใช้คำ�ง่ายๆ ที่เด็กพบเห็นในชีวิตประจำ�วัน ร้องเพลง รวมทั้ง
เล่าน ิทานเป็นภ าษาท ี่เด็กคุ้นเคยให้ฟังท ุกว ัน
1.3 ติดป ้ายชื่อสิ่งของเครื่องใช้ในห ้อง
1.4 แนะนำ�การอ อกเสียงพ ยัญชนะเป็นภาษาแ ม่ของเด็กแ ละภาษาท ี่สองควบคู่กัน
1.5 เชิญผู้ป กครอง และคนในช ุมชนที่เด็กอ าศัยอยู่ มาเล่าน ิทาน ประกอบอ าหาร ร้องเพลง
ร่วมกับเด็ก