Page 53 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 53
วิวัฒนาการของก ารป ฐมวัยศ ึกษา 1-43
เรื่องท ี่ 1.3.1 การป ฐมวยั ศ ึกษาข องประเทศไทย
ระยะก่อนไ ด้รับอ ิทธิพลท างตะวันต ก
การจ ัดการศ ึกษาในระดับป ฐมวัยข องป ระเทศไทยในระยะก่อนได้ร ับอ ิทธิพลท างต ะวันตก จะก ล่าว
แยกเป็นระยะตามส มัยต่างๆ โดยสังเขปดังนี้
1. การปฐมวัยศึกษาในสมัยกรุงสุโขทัย
2. การปฐมวัยศึกษาในส มัยกรุงศ รีอยุธยา
3. การป ฐมวัยศึกษาในสมัยกรุงธนบุรีและส มัยก รุงร ัตนโกสินทร์ต อนต้น
1. การปฐมวัยศ ึกษาในสมยั ก รุงส โุ ขทยั
เมื่อพ ่อขุนร ามคำ�แหงได้ทรงป ระดิษฐ์อักษรไทยข ึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 1826 พระองค์ทรงน ำ�ออกเผยแ พร่
สู่บรรดาคนไทยทั่วไปในแถบลุ่มแม่นํ้ายม แม่นํ้าเจ้าพระยา ตลอดจนลงไปทางใต้ ซึ่งก็ได้รับการยอมรับ
และนำ�ไปสั่งสอนถ่ายทอดกันต่อไปอย่างแพร่หลาย ทั้งยังทรงสั่งสอนพระราชวงศ์ ข้าราชบริพาร ตลอดจน
ร าษฎรให้หัดอ่าน หัดเขียนหนังสือไทย
การศึกษาในส มัยนั้น เป็นการศ ึกษาแบบไม่เป็นท างการ (Informal Education) ทั้งนี้เนื่องจากไม่มี
การก ำ�หนดหลักเกณฑ์ที่แ น่นอน ไม่มีก ารบ ังคับแต่เป็นการส อนให้เปล่า ไม่มีค่าจ้างห รือค ่าเล่าเรียน และการ
เรียนเป็นไปต ามความส มัครใจข องผ ู้เรียน
สถานศ ึกษา ได้แก่ บ้าน วัด สำ�นักป ราชญ์ร าชบัณฑิต และร าชสำ�นัก
ครูผ ู้สอน ได้แก่ บิดามารดา พระ พราหมณ์ และร าชบัณฑิต
วิชาเรียนในสมัยกรุงสุโขทัย อาจกล่าวได้ว่ามีการจัดการศึกษาโดยให้ผู้เรียนได้ศึกษาเนื้อหาต่างๆ
ดังนี้
1) การสอนจริยศึกษา อันได้แก่ การส อนให้เด็กปฏิบัติตนให้อ ยู่ในศ ีลธ รรม จรรยา และป ฏิบัติตาม
หลักพ ุทธศ าสนา
2) การสอนพุทธิศึกษา ได้แก่ การสอนอ่าน เขียนภาษาไทย ภาษาบาลี และวิชาความรู้เบื้องต้น
อ ย่างอ ื่น
3) การสอนพลศึกษา ในสมัยนั้น ผู้ชายทุกคนต้องเป็นทหาร ดังนั้นจึงจำ�เป็นต้องหัดวิชาสำ�หรับ
ป้องกันต ัว และไว้ใช้ในเวลาเกิดศึกสงคราม
4) การส อนหัตถศึกษา ส่วนใหญ่ศึกษาภายในบ ้าน โดยมีบิดาม ารดาที่มีความร ู้ท างอ าชีพถ ่ายทอด
วิชาค วามร ู้ให้แ ก่บ ุตรห ลานข องต น สำ�หรับเด็กห ญิงก ็จ ะได้ร ับก ารอ บรมเกี่ยวก ับก ิจกรรมบ ้านเรือน การฝ ีมือ
การป ระกอบอาหาร การท อผ ้า หรือการป ระกอบอ าชีพข องค รอบครัว