Page 54 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 54
1-44 หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
จากการศึกษาประวัติของการจัดการศึกษาในสมัยสุโขทัยดังกล่าว จะเห็นได้ว่าในสมัยนี้เป็นการ
ศึกษาอย่างไม่เป็นท างการ และย ังไม่ได้ให้ความสำ�คัญกับก ารจ ัดการศ ึกษาในระดับป ฐมวัย
2. การปฐมวัยศ กึ ษาในสมยั ก รงุ ศรีอยธุ ยา
การศ ึกษาในส มัยก รุงศ รีอยุธยาในร ะยะแ รก คงด ำ�เนินไปต ามแ บบเดิมเช่นเดียวก ับส มัยก รุงส ุโขทัย
ต่อม าในส มัยพ ระน ารายณม์ หาราชไดท้ รงเจริญส ัมพนั ธไมตรกี บั ฝ รั่งเศส ดงั น ัน้ ในส มยั น สี้ ถานศ ึกษาข องไทย
จึงมีสำ�นักสอนศาสนา เพื่ออบรมเด็กไทยให้เป็นสามเณรในคริสต์ศาสนา และขณะเดียวกันก็มีการสอน
ว ิชาการ อื่นๆ นอกจากศาสนาด้วย อาทิ ภาษาฝรั่งเศส ดาราศาสตร์ การต ่อเรือ การก่อสร้าง
การศ ึกษาในส มัยพ ระน ารายณม์ หาราชเจริญร ุ่งเรืองม าก ทั้งด ้านจ ริยศึกษา พุทธศิ ึกษาแ ละพ ลศึกษา
รวมทั้งมีหนังสือแบบเรียนภาษาไทยเล่มแรก คือ หนังสือจินดามณี ซึ่งบรรจุเนื้อหาวิชาภาษาไทยตั้งแต่ชั้น
ประถมศ ึกษาข ึ้นไปจ นถึงข ั้นอ ุดมศึกษา และก ารศ ึกษาเริ่มแ พร่ห ลายส ู่ค นธ รรมดาส ามัญม ากข ึ้นก ว่าแ ต่ก ่อน
อย่างไรก ็ตาม การศึกษาในระดับปฐมวัยศึกษาท ี่จ ัดให้แ ก่เด็กในว ัย 3-7 ปี ก็ยังไม่ปรากฏ
3. การปฐมวยั ศ กึ ษาในสมัยก รงุ ธนบรุ แี ละสมัยกรุงรัตนโกสนิ ทร์ตอนตน้
(รชั กาลท ี่ 1-รัชกาลท่ี 4)
หลังจากเหตุการณ์บ้านเมืองเข้าสู่ปกติแล้ว การศึกษาในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีเข้ารูปเดิมเหมือน
ในสมัยกรุงศรีอยุธยา และเมื่อเข้าสู่สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
โปรดให้ปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพน เนื่องจากทรงเห็นว่าการศึกษาวิชาหนังสือนั้น ราษฎรทั่วไปได้อาศัยวัด
เป็นที่ศึกษาเล่าเรียนแล้ว แต่วิชาชีพอื่นๆ ยังไม่มีที่จะศึกษาเล่าเรียนกันได้ จึงโปรดให้ประชุมนักปราชญ์
ราชบัณฑิต ผู้เชี่ยวชาญในว ิชาแขนงต ่างๆ ได้จ ารึกว ิทยาการลงในแ ผ่นศิลา วิชาที่นำ�มาจ ารึกไว้ส ่วนใหญ่เป็น
วิชาชีพช ั้นส ูง ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 หมวด คือ หมวดอ ักษรศาสตร์ หมวดแ พทยศาสตร์ และห มวดวิชาช่างฝีมือ
นอกจากน ีย้ ังไดด้ ัดแปลงห นังสือจ ินดามณใีหมเ่พื่อใหใ้ชศ้ ึกษาเล่าเรียนไดง้ ่ายข ึ้น หนังสือเรียนด ังก ล่าว ได้แก่
หนังสือประถม ก. กา และหนังสือประถมมาลา หนังสือทั้ง 2 เล่มนี้ใช้เป็นแบบเรียน จนถึงสมัยพระบาท
สมเด็จพ ระจอมเกล้าเจ้าอ ยูห่ ัว ได้ม กี ารเรียนภ าษาอ ังกฤษ วิชาแ พทย์ วิชาเครื่องจักรก ล วิชาต ่อเรือก ำ�ปั่น วิชา
เดินเรือก ับพวกห มอสอนศ าสนา นอกจากนั้นยังได้ม ีการพิมพ์ห นังสือไทยขึ้นเป็นครั้งแรก จึงท ำ�ให้การศ ึกษา
แพร่หลายในห มู่ประชาชนอย่างก ว้างข วางข ึ้น
การศึกษาของไทยตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยมาจนถึงสมัยของพระบาทส มเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
เป็นการศ ึกษาช นิดไม่มีแ บบแผน ไม่มีโรงเรียนส ำ�หรับเรียนห นังสือโดยเฉพาะ ไม่มีหลักสูตรว ่าจะเรียนว ิชา
อะไรบ้าง ไม่มีก ารก ำ�หนดเวลาเรียน และไม่มีก ารวัดผลการศ ึกษา
เด็กชายที่มีอายุตั้งแต่ 7-8 ขวบขึ้นไป บิดามารดาจะพาไปฝากไว้กับพ ระ ส่วนเด็กห ญิงจ ะเรียนวิชา
การบ ้านการเรือนอันจ ำ�เป็นแ ก่ก ุลสตรี โดยศึกษาที่บ้านของตน หรือบ ิดามารดาอาจนำ�ไปฝ ากไว้ในราชสำ�นัก
หรือในว ังเจ้าน าย หรือบ ้านข้าราชการ