Page 51 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 51
วิวัฒนาการข องการป ฐมวัยศึกษา 1-41
ตอนท ี่ 1.3
ประวัติความเป็นม าของก ารป ฐมวัยศึกษาในป ระเทศไทย
โปรดอ า่ นแผนการส อนประจำ�ตอนท่ี 1.3 แล้วจ ึงศึกษาเนือ้ หาส าระโดยละเอยี ดในแ ต่ละเรือ่ ง
หัวเรอื่ ง
เรื่องท ี่ 1.3.1 การป ฐมวัยศึกษาข องประเทศไทยระยะก่อนได้ร ับอิทธิพลทางต ะวันต ก
เรื่องท ี่ 1.3.2 การปฐมวัยศึกษาของประเทศไทยร ะยะห ลังได้รับอ ิทธิพลทางตะวันตก
เรื่องท ี่ 1.3.3 การป ฐมวัยศึกษาของป ระเทศไทยในปัจจุบัน
แนวคิด
1. การป ฐมวัยศ ึกษาข องป ระเทศไทยร ะยะก ่อนได้ร ับอ ิทธิพลท างต ะวันต ก ยังไม่ได้ร ับค วาม
สนใจและไม่ได้ให้ความสำ�คัญต่อการจัดการศึกษาแก่เด็กปฐมวัย การจัดการศึกษาใน
ระยะแรกเป็นการจัดแบบไม่เป็นทางการ ผู้ที่ได้รับการศึกษาระดับนี้ส่วนใหญ่จะเป็น
เชื้อพระวงศ์ บุตรหลานของบิดามารดาที่รับราชการและผู้มีฐานะดี โดยจะศึกษาในวัง
หรือตามบ้าน สำ�หรับประชาชนท ั่วไปบ ิดาม ารดาจะพ าไปเรียนก ับพระที่วัด และเด็กที่จะ
เข้าเรียนเป็นเด็กช ายท ีอ่ ยูใ่นว ัย 7-8 ขวบข ึ้นไป ส่วนเด็กห ญิงจ ะเรียนว ิชาการบ ้านก ารเรือน
และวิชาชีพในครอบครัว
2. การป ฐมวัยศึกษาของป ระเทศไทยระยะหลังได้ร ับอิทธิพลทางต ะวันต ก เริ่มข ึ้นในร ัชสมัย
ของพ ระบาทส มเด็จพ ระจ ลุ จอมเกล้าเจ้าอ ยูห่ วั โดยเริม่ ม กี ารจ ดั การป ฐมวัยศ กึ ษาในร ะบบ
โรงเรียน และสถานรับเลี้ยงเด็ก ต่อมารัฐเริ่มให้ความสำ�คัญในการจัดการปฐมวัยศึกษา
โดยก ำ�หนดน โยบายในก ารจ ัดการศ ึกษาร ะดับน ี้อ ย่างต ่อเนื่อง และม ีนโยบ ายส ่งเสริมแ ละ
สนับสนุนให้ห น่วยง านต่างๆ ทั้งข องรัฐแ ละเอกชนจ ัดการศึกษาในร ะดับนี้ โดยม ุ่งหวังให้
เด็กป ฐมวัยไดร้ ับก ารพ ฒั นาแ ละเจรญิ เตบิ โตเปน็ ท รพั ยากรบ คุ คลท มี่ คี ุณภาพข องป ระเทศ
ชาติ
3. การป ฐมวยั ศ ึกษาข องป ระเทศไทยในป ัจจบุ นั ใหค้ วามส ำ�คัญก ับก ารส ง่ เสรมิ แ ละส นบั สนนุ
ให้พ ่อแ ม่ผู้ปกครองเข้าม ามีส่วนร ่วมในการพัฒนาเด็ก และมุ่งสร้างเสริมนิสัยรักการอ่าน
รวมท ั้งส่งเสริมค วามรู้ความเข้าใจท างค ณิตศาสตร์แ ละว ิทยาศาสตร์ให้กับเด็กป ฐมวัย