Page 46 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 46

1-36 หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา

            1)	 ส่ง​เสริม​และ​สนับสนุน​ให้​บุคลากร​ยอมรับ​ทุก​ครอบครัว​ที่​มี​ความ​แตก​ต่าง​ทาง​วัฒนธรรม
โดยก​ าร​เชิญ​ผู้ป​ กครองเ​ข้า​ร่วมก​ ิจกรรมใ​นห​ ้องเรียน บูรณา​ก​ ารว​ ัฒนธรรมแ​ ละ​ประเพณีข​ องเ​ด็กแ​ ต่ละ​คนใน​
กิจกรรมก​ ารเ​รียนร​ ูข้​ องห​ ้อง และแ​ ปลช​ ื่อเ​รียกอ​ ุปกรณข์​ องใชท้​ ีจ่​ ำ�เป็นใ​นห​ ้องเ​ป็นภ​ าษาข​ องเ​ด็กค​ วบคูก่​ ับภ​ าษา​
ที่ส​ อง

            2)	ส่ง​เสริม​และ​สนับสนุน​ให้​บุคลากร​มี​ปฏิสัมพันธ์​ที่​ดี​กับ​เด็ก​และ​ครอบครัว รวม​ทั้ง​เข้า​ร่วม​
กิจกรรมข​ องช​ ุมชน​ที่เ​ด็กอ​ าศัย​อยู่

       การ​ที่​ครู​จะ​บูรณ​า​การ​ความ​หลาก​หลาย​ทาง​วัฒนธรรม​ของ​เด็ก​แต่ละ​คน​กับ​กิจกรรม​การ​เรียน​รู้​ใน​
ห้องเรียน​ได้ ครู​ต้อง​มี​ข้อมูล​ความ​รู้​เกี่ยว​กับ​ตัวเด็ก​และ​ครอบครัว​ทาง​ด้าน​ภาษา วัฒนธรรม วิถี​การ​ดำ�รง​
ชีวิต เครือข​ ่ายท​ างส​ ังคม ความ​เกี่ยวข้อง​ทาง​เครือ​ญาติ และ​การป​ ระกอบ​อาชีพ เพื่อน​ ำ�​ข้อมูล​ดัง​กล่าวม​ า​เป็น​
ส่วน​หนึ่ง​ของ​การ​พัฒนา​หลักสูตร​และ​การ​ออกแบบ​การ​จัด​กิจกรรม​การ​เรียน​รู้​สำ�หรับ​เด็ก ซึ่ง​การ​หา​ข้อมูล​
สามารถท​ ำ�ได้​หลายว​ ิธี เช่น การส​ ่ง​แบบ​สำ�รวจ​ให้​ผู้​ปกครอง การ​เชิญ​ผู้ป​ กครอง​มา​ร่วมก​ ิจกรรม​ในห​ ้องเรียน
เช่น การเ​ล่าป​ ระสบการณห์​ รือเ​รื่องร​ าวเ​กี่ยวก​ ับป​ ระเทศข​ องต​ น การเ​ล่าน​ ิทานพ​ ื้นบ​ ้าน การนำ�​ศิลปะห​ ัตถกรรม​
มา​อธิบาย​และ​ให้​เด็ก​ได้​สัมผัส การ​ประกอบ​อาหาร​พื้น​เมือง การนำ�​อุปกรณ์​และ​ของ​เล่น​เด็ก​ใน​ประเทศ​
ของ​ตน​มา​สาธิต​วิธี​การ​เล่น​และ​ให้​เด็ก​ได้​ทดลอง​เล่น ฯลฯ จาก​ข้อมูล​ดัง​กล่าว​ครู​สามารถ​นำ�​มา​พัฒนา​เป็น​
โครงการ​นานาชาติ (International Project) ผ่าน​การ​เล่น​ใน​ห้องเรียน​ได้ เช่น ตัวอย่าง​โครงการ​มรดก​ทาง​
วัฒนธรรมข​ องอ​ ินเดีย (Indian Cultural Heritage) ครูอ​ าจจ​ ัดก​ ิจกรรมไ​ด้ห​ ลากห​ ลาย เช่น การใ​ห้ผ​ ู้ป​ กครอง
​เขียน​ชื่อ​เด็ก​แต่ละ​คน​เป็น​ภาษา​ฮินดู ตอน​เช้า​จะ​มี​การ​อ่าน​ชื่อ​เด็ก​แต่ละ​คน​เป็น​ภาษา​ฮินดู​คู่​กับ​ภาษา​อังกฤษ
การ​ประกอบ​อาหาร​ของ​อินเดีย การ​จัด​เป็น​มุม​ประสบการณ์​ร้าน​อาหาร​อินเดีย​ที่​ประดับ​ตกแต่ง​ด้วย​ภาพ​
ทัช​มาฮ​ าล​ขนาด​ใหญ่​และภ​ าพว​ าด​ของเ​ด็ก ภาพอ​ าหารอ​ ินเดีย รายการ​อาหาร​อินเดีย อุปกรณ์​ประกอบ​อาหาร​
ของอ​ ินเดีย เสื้อผ้า​เครื่อง​นุ่ง​ห่ม​ของค​ นอ​ ินเดีย รวมถ​ ึง​สัญญล​ ักษณ์ข​ อง​ประเทศ​อินเดีย เมื่อส​ ิ้น​สุด​โครงการ
ครู​จัด​ให้​มี​การ​สนทนา​เพื่อ​แลก​เปลี่ยน​สิ่ง​ที่​เด็ก​ได้​เรียน​รู้​เกี่ยว​กับ​ประเทศ​อินเดีย ซึ่ง​เด็ก​อาจ​ได้​เรียน​รู้​
หลาย​อย่าง เช่น การ​สร้างท​ ัช​มาฮ​ าล​ต้องใ​ช้ค​ นม​ าก​ถึง 20,000 คน เสื้อผ้าก​ ารแ​ ต่งก​ ายข​ อง​คนอ​ ินเดีย ได้​ชิม​
รสชาติ​อาหาร​ของ​อินเดีย ได้​เล่น​เกม​คริกเก็ท​ของ​อินเดีย คน​อินเดีย​ส่วน​มาก​ไม่มี​โทรทัศน์ นก​ยูง​เป็น​สัตว์​
ประจำ�​ชาติ​ของ​อินเดีย ผู้ชาย​สมัย​ก่อนข​ อง​อินเดียม​ ีภ​ รรยา​ได้​หลาย​คน เป็นต้น (Cohen, 2009: 73-74)

       จากก​ ิจกรรมด​ ังก​ ล่าว จะเ​ห็นไ​ดว้​ ่าค​ รสู​ ามารถจ​ ัดก​ ิจก​ รร​ มบ​ ูรณา​ก​ ารค​ วามห​ ลากห​ ลายท​ างว​ ัฒนธรรม​
ของเ​ด็กแ​ ต่ละค​ นในห​ ้องเรียนผ​ ่านกิจกรรมก​ ารเ​ล่นท​ ีเ่​ปิดโ​อกาสใ​หเ้​ด็กม​ ปี​ ระสบการณต์​ รง ไดล้​ งมือป​ ฏิบัติ ซึ่ง​
อาจ​จัด​เป็น​ส่วน​หนึ่งข​ อง​กิจกรรมป​ ระจำ�​วัน หรืออ​ าจ​จัด​เป็น​โครงการ​พิเศษข​ ึ้น​มา​ก็ได้

       2.	 การ​สอน​ภาษา​ท่​ีสอง​สำ�หรบั ​เดก็ ​ปฐมวัย ก่อน​ที่​จะ​กล่าว​ถึง​ราย​ละเอียด​ของ​การ​สอน​ภาษา​ที่​สอง​
ให้​แก่​เด็ก​ปฐมวัย​ที่​ย้าย​ตาม​ครอบครัว​ไป​อยู่​ใน​ต่าง​ประเทศ ขอ​ทำ�ความ​เข้าใจ​กับ​นักศึกษา​เกี่ยว​กับ​
ความ​หมาย​ของ​การ​สอน​ภาษา​ที่​สอง​ให้​เข้าใจ​ตรง​กัน​ก่อน​ว่า การ​สอน​ภาษา​ที่​สอง หมาย​ถึง การ​สอน​ภาษา​
ที่​แตก​ต่าง​จากภ​ าษาแ​ ม่ แต่​เป็นภ​ าษาท​ ี่ใ​ช้ใ​นส​ ังคม​ที่​เด็กอ​ าศัยอ​ ยู่ จึงเ​ป็น​ความ​จำ�เป็นท​ ี่​เด็กต​ ้อง​เรียน​รู้ภ​ าษา​
นั้นๆ เพื่อ​ให้​สามารถ​สื่อสาร​กับ​คนใน​สังคม​และ​ชุมชน​ที่​แวดล้อม​อยู่​ได้ ตัวอย่าง​เช่น ครอบครัว​คน​ไทย​ที่​
ย้าย​ไป​อยู่​ประเทศ​สหรัฐอเมริกา สมาชิก​ทุก​คนใน​ครอบครัว​ต้อง​เรียน​รู้​ภาษา​อังกฤษ​เพื่อ​ให้​สามารถ​สื่อสาร​
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51