Page 47 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 47
วิวัฒนาการของก ารปฐมวัยศ ึกษา 1-37
กับคนรอบข้างได้ โดยเฉพาะบุตรที่ย้ายไปกับครอบครัวดังกล่าว ต้องเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อให้สามารถ
เข้าใจ และส ื่อสารกับค รู เพื่อนๆ ในโรงเรียน และชุมชนที่อยู่แ วดล้อมได้ ภาษาอ ังกฤษจ ึงเป็นภ าษาท ี่สองท ี่
สมาชิกท ุกค นในค รอบครัวต อ้ งเรียนร ู้ หรือต ัวอยา่ งก ารส อนภ าษาท ีส่ องในป ระเทศไทย เช่น การส อนเด็กท ีพ่ ูด
ภาษาถ ิน่ ใหส้ ามารถพ ดู แ ละเขา้ ใจภ าษาไทยก ลางได้ เพราะค รแู ละเพือ่ นๆ ในโรงเรียนใชภ้ าษาไทยก ลาง ซึ่งเป็น
ภาษาร าชการท ี่ค รูใช้ในก ารสอน และสื่อสารกับเด็กท ุกค นในห ้องเรียน เป็นต้น ดังนั้น การสอนภ าษาอ ังกฤษ
ให้กับเด็กไทยในประเทศไทย จึงแตกต่างจากการสอนภาษาอังกฤษให้กับเด็กไทยในต่างประเทศ เนื่องจาก
ในประเทศไทย เด็กได้เรียนร ู้ภาษาอ ังกฤษเฉพาะในห้องเรียนเท่านั้น เมื่ออ ยู่นอกห้องเรียนก็ใช้ภาษาไทยกับ
พ่อแม่ ญาติพี่น ้อง เพื่อน และบ ุคคลแ วดล้อม แต่การเรียนร ู้ภ าษาอ ังกฤษข องเด็กไทยในต ่างประเทศ เด็ก
จะได้เรียนรู้ภาษาอังกฤษจากโรงเรียน และได้นำ�ความรู้มาใช้พูดสื่อสารกับทุกคนที่อยู่แวดล้อม ยกเว้นกับ
คนในครอบครัวที่อ าจจะยังคงใช้ภ าษาไทยกันอ ยู่ เป็นต้น
ดังนั้น การสอนภาษาอังกฤษให้กับเด็กปฐมวัยที่ได้เรียนรู้ภาษาแม่มาก่อนแล้วในศูนย์พัฒนาเด็ก
หรือในโรงเรียนอนุบาลในประเทศสหรัฐอเมริกาจึงเป็นการสอนภาษาอังกฤษในฐานะที่เป็นภาษาที่สอง ซึ่ง
เป็นประเด็นที่กำ�ลังได้รับความสนใจเป็นอย่างมากจากนักวิชาการ ครูและผู้เกี่ยวข้องกับการปฐมวัยศึกษา
เนื่องจากมีเด็กป ฐมวัยที่ไม่รู้ภ าษาอังกฤษ และไม่ส ามารถพูดภ าษาอังกฤษได้เพิ่มขึ้นทุกปี และมีแ นวโน้มจะ
เพิ่มม ากขึ้นต่อไปในอนาคต ผลการศึกษาของเจเนซ ี พาร าดีส และเครโก (Genesee Paradis and Crago,
2004 อ้างถ ึงใน Prieto, 2009: 52) พบว่า ถ้าให้โอกาสเด็กเรียนรู้ภ าษาต ั้งแต่เล็ก เด็กส ามารถเรียนรู้ภาษา
ได้มากกว่าหนึ่งภาษาในเวลาเดียวกัน แต่ที่สำ�คัญไพรเอทโต (Prieto, 2009: 52) กล่าวว่า ครูปฐมวัยต้อง
ช่วยอธิบายให้ผ ู้ปกครองเข้าใจว ่า เด็กส ามารถเรียนร ู้ได้สองภ าษาในเวลาเดียวกัน เด็กยังค งส ามารถเรียนร ู้
และพูดภ าษาแ ม่ควบคู่ไปกับภาษาอังกฤษได้ ซึ่งการที่เด็กได้ส ื่อสารกับพ่อแ ม่ ปู่ย่าตาย ายในครอบครัวด ้วย
ภาษาแม่ และมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมต่อกัน จะช่วยให้สามารถรักษาความสัมพันธ์ใกล้ชิดต่อกัน อันเป็น
เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมดั้งเดิมของเด็กไว้ได้ นอกจากนั้น ยังช่วยให้เด็กได้พ ัฒนาความร ู้สึกว่าต นเองเป็น
ส่วนห นึ่งข องค รอบครัว (Sense of Belonging)
เด็กที่เข้ามาอยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กส่วนมาก สามารถพูดสื่อสารด้วยภาษาแม่ได้แล้ว แต่ยังไม่เข้าใจ
ภาษาอ ังกฤษแ ละไม่ส ามารถสื่อสารก ับค รูแ ละเพื่อนๆ ในห ้องเรียนเป็นภ าษาอ ังกฤษได้ ซึ่งล าโด (Lado, 1997
อ้างถ ึงใน ทิพากร วงศ์ปลั่ง 2539: 17) กล่าวว ่า ในการเรียนรู้ภาษาท ี่ส องจะโดยร ู้ตัวหรือไม่รู้ตัว จะโดยต ั้งใจ
หรือไม่ตั้งใจก็ตาม ผู้เรียนมักจะถ่ายทอดโครงสร้างต่างๆ จากภาษาแม่ไปยังภาษาที่จะเรียน ซึ่งอาจทำ�ให้
เกิดได้ทั้งความยากลำ�บาก และความสะดวกในการเรียน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับโครงสร้างและรูปแบบ ตลอดจน
ค วามห มายในภ าษาท ีจ่ ะเรียนน ั้นว ่าม คี วามเหมือนห รือต ่างก ัน ในส ่วนท ีภ่ าษาแ มแ่ ละภ าษาท ีส่ องเหมือนก ันจ ะ
ช่วยให้การเรียนง ่ายข ึ้น ส่วนใดท ีแ่ ตกต ่างก ัน ผูเ้รียนจ ะป ระสบป ัญหาในก ารเรียนเรื่องน ั้น เพราะก ารถ ่ายทอด
จากโครงสร้างที่ไม่ถ ูกต ้องในภ าษาท ี่เรียน ดังน ั้น จึงอ าจก ล่าวได้ว ่าการถ ่ายทอดความรู้จ ากภ าษาแ ม่ส ู่ภ าษาที่
สองมี 2 ลักษณะ คือ