Page 48 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 48
1-38 หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
1) การถ ่ายทอดท ีใ่ หผ้ ลท างบ วก (Positive transfer) คือ การถา่ ยทอดจ ากภ าษาแ มไ่ ปส ูภ่ าษา
ที่ส องที่ให้ผ ลออ กม าถ ูกต ้องตรงกับท ี่ใช้จ ริงในภ าษาท ี่จ ะเรียน จึงไม่ก ่อให้เกิดปัญหาในก ารเรียน แต่ก ลับจะ
ทำ�ให้การเรียนง ่ายขึ้น
2) การถ ่ายทอดท ีใ่ หผ้ ลท างล บ (Negative transfer) คือ การถา่ ยทอดจ ากภ าษาแ มไ่ ปส ูภ่ าษา
ที่สองที่ให้ผลลัพธ์ผิดจากที่ใช้จริงในภาษาที่สอง การถ่ายทอดประเภทนี้อาจเรียกว่าเป็นการแทรกแซงจาก
ภาษาแ ม่
ในระยะแ รกข องการส อนภ าษาท ี่สอง ครูควรสร้างแรงจ ูงใจให้เด็กอยากเรียนร ู้ด้วยกิจกรรมท ี่สนุก
และน า่ ส นใจ ภาษาท นี่ �ำ มาใชใ้ นก ารส ือ่ สารค วรเปน็ ค �ำ งา่ ยๆ ทเี่ ดก็ เคยไดย้ นิ ไดฟ้ งั ม าบ า้ งแ ลว้ ในก รณจี �ำ เปน็ อ าจ
แปลเปน็ ภ าษาแ มไ่ ดบ้ า้ ง กจิ กรรมต อ้ งง า่ ยพ อทีจ่ ะท �ำ ใหเ้ ดก็ เขา้ ใจแ ละส ามารถร ว่ มก จิ กรรมได้ ดงั น ัน้ กจิ กรรม
ที่เหมาะส มและดีที่สุด คือ เพลง และเกมการเล่นต่างๆ โดยเน้นที่การให้เด็กได้ฟังให้มาก ดังที่แ มคอินทอช
(McIntosh, 1965 อ้างถึงในท ิพากร วงศ์ปลั่ง 2539: 13) กล่าวว่า เด็กเรียนร ู้ภาษาที่สองด้วยกระบวนการ
เดียวกับการเรียนรู้ภาษาที่หนึ่ง กล่าวคือ ในขั้นแรกเด็กต้องมีโอกาสรับฟังภาษาที่จะเรียนให้มากที่สุด
จนส ามารถแ ยกแยะค วามแ ตกต ่างข องค ำ�ทีไ่ด้ยินแ ละอ อกเสียงไดถ้ ูกต ้อง ในข ั้นท ีส่ อง เด็กส ามารถเลียนแ บบ
คำ� วลี หรือร ูปป ระโยคจ ากค รู และในข ั้นต อนส ุดท้าย ให้เด็กพ ยายามอ อกเสียงแ ละพ ูดอ อกม าให้ถ ูกต ้องแ ละ
เป็นไปต ามอัตโนมัติด้วยตนเอง
การเรียนรู้ภาษาที่สองในระยะแรก เด็กต้องการเวลาในการฝึกฟังเพื่อทำ�ความเข้าใจกับคำ�พูดที่ครู
และเพื่อนๆ สื่อสารด้วย เด็กอ าจย ังไม่สามารถพูดโต้ตอบกับคนรอบข้างได้ด ีน ัก จึงเลือกใช้ภ าษาท ่าทางช ่วย
ในก ารสื่อค วามห มาย ซึ่งก็มีข้อจำ�กัดห ลายอ ย่าง ภาษาท่าทางบางอ ย่างไม่สามารถส ื่อสารให้เข้าใจตรงกันได้
บางครั้งยังทำ�ให้เกิดการเข้าใจผ ิดกันได้ อันเนื่องมาจากวัฒนธรรมที่แ ตกต ่างกัน ดังนั้นเด็กจ ึงต้องการเวลา
ในก ารปรับตัวให้เข้ากับส ังคมแ ละว ัฒนธรรมทางภาษาที่จ ะเรียน เพื่อให้สามารถเข้าไปเล่นและร่วมกิจกรรม
กับเพื่อนในห ้องได้อย่างก ลมกลืน ซึ่งครูสามารถช ่วยเด็กที่ต้องเรียนร ู้ส องภ าษาให้สามารถเข้าใจแ ละส ื่อสาร
กับเพื่อนๆ ในห้องได้ ด้วยการส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กได้ทดลองพูดภาษาที่สองในบรรยากาศที่อบอุ่น
เป็นกันเอง ไม่ต้องกังวลว่าจะถูกวิพากษ์วิจารณ์จากครูและเพื่อน เช่น การเสนอความคิด การพูดแสดง
ความค ิดเห็น การบ อกค วามต ้องการ อารมณ์ และความร ู้สึกต ่างๆ (Krashen, Terrell, and Candlin, 2009:
14-15)
นักการศ ึกษาป ฐมวัยแ ละค รูป ฐมวัยส ่วนใหญม่ คี วามเห็นต รงก ันว ่า เด็กส ามารถเรียนร ูภ้ าษาแ มแ่ ละ
ภาษาที่สองผ่านการเล่น ขณะเล่นด้วยก ัน เด็กจะม ีวิธีก ารในการสื่อสารความค ิดความรู้สึกซ ึ่งกันแ ละก ันไป
ตามธรรมชาติ เริ่มจ ากการพ ูดคุยส นทนากันแบบง่ายๆ นำ�ไปส ู่การเรียนรู้คำ�ศัพท์ใหม่ (Pate, 2009: 14-15)
ดังน ั้น การพ ัฒนาค วามส ามารถในก ารเรียนร ูภ้ าษาท ีส่ องใหก้ ับเด็กจ ึงต ้องท ำ�ควบคูไ่ปก ับก ารพ ัฒนาท ักษะท าง
สังคม ดังที่คราเชน เทอ ร์เรล และแ คนดลิน (Krashen, Terrell, and Candlin, 2009: 14) กล่าวว่า การส อน
ภาษาท ีส่ องใหก้ ับเด็กเล็ก ควรเชื่อมโยงร ะหว่างพ ัฒนาการท างภ าษาก ับพ ัฒนาการท างส ังคมเข้าด ้วยก ันโดยใช้
แนวทฤษฎีธ รรมชาติ (Natural Approach Theory) ซึ่งม ีห ลักก ารที่ส ำ�คัญ 4 ประการ คือ