Page 55 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 55

วิวัฒนาการ​ของ​การป​ ฐมวัยศ​ ึกษา 1-45

       ดงั น​ ัน้ จะเ​หน็ ไ​ดว​้ า่ การศ​ กึ ษาข​ องไ​ทยต​ ลอดร​ ะยะเ​วลาท​ ผี​่ า่ นม​ า ยงั ไ​มไ​่ ดใ​้ หค​้ วามส​ �ำ คญั ต​ อ่ ก​ ารจ​ ดั การ​
ศึกษาใ​นร​ ะดับ​ปฐมวัย​ อย่างไรก​ ็ตาม จาก​ประวัติการศ​ ึกษาอ​ าจ​กล่าวไ​ด้​ว่า การ​จัดการ​ศึกษา​ใน​ระดับป​ ฐมวัย​
ใน​ระยะก​ ่อน​ได้​รับ​อิทธิพลท​ าง​ตะวัน​ตกน​ ั้น มี​ลักษณะ​ที่ส​ ำ�คัญด​ ังนี้

       1)	 การใ​ห้การป​ ฐมวัยศ​ ึกษาส​ ำ�หรับเ​ชื้อพ​ ระว​ งศ์ เป็นการจ​ ัดการศ​ ึกษาใ​ห้แ​ ก่พ​ ระโ​อรส พระธ​ ิดา และ​
เชื้อพ​ ระ​วงศ์ ซึ่ง​เป็นการ​จัดการ​ศึกษาใ​น​พระบรม​มหาราชว​ ัง โดยม​ ี​อาลักษณ์ หรือร​ าชบ​ ัณฑิตม​ า​สอน

       2)	 การใ​ห้การ​ปฐมวัยศ​ ึกษา​สำ�หรับ​บุคคล​ที่​บิดาม​ ารดาม​ ีฐ​ านะ​ดี บิดาม​ ารดาก​ ็​จะ​จ้างใ​ห้ค​ รูม​ า​สอน​ที​่
บ้าน หรือ​เรียนท​ ี่​บ้าน โดยม​ ี​บิดา​มารดาเ​ป็น​ผู้ส​ อน​ตามค​ วาม​สามารถห​ รือ​ตามอ​ าชีพ​ของต​ น

       3)	 การใ​ห้การป​ ฐมวัยศ​ ึกษาส​ ำ�หรับป​ ระชาชนท​ ั่วไป เด็กท​ ี่​บิดาม​ ารดาม​ ี​ฐานะย​ ากจนจ​ ำ�เป็นต​ ้องอ​ อก​
ไป​ประกอบ​อาชีพ หรือ​ไม่มี​ความ​สามารถ​ใน​การ​อบรม​สั่ง​สอน ก็​จะ​นำ�​เด็ก​ชาย​ไป​ฝาก​ไว้​ที่​วัด เพื่อ​ให้​เรียน​
หนังสือแ​ ละ​ศึกษาพ​ ระ​ธรรม​วินัย และ​เมื่อ​อายุ 11 ขวบข​ ึ้น​ไป ก็จ​ ะบ​ วช​เป็นส​ ามเณร เพื่อศ​ ึกษา​เล่าเ​รียน​อยู่​ใน​
วัด สำ�หรับ​เด็ก​หญิง​ส่วน​ใหญ่​จะ​ไม่มี​โอกาส​ได้​เรียน​หนังสือ นอกจาก​บิดา​มารดา​จะ​พา​ไป​ฝาก​ไว้​ใน​วัง หรือ​
บ้าน​เจ้า​นาย เพื่อ​ฝึกฝน​การ​เป็น​กุลสตรี และ​บาง​ครอบครัว​บิดา​มารดา​ก็​จะ​สอน​หรือ​ถ่ายทอด​งาน​อาชีพ​ของ​
ครอบครัวใ​ ห้​ฝึกหัด​ภายใน​บ้าน

เรอ่ื งท​ ่ี 1.3.2	 การป​ ฐมวยั ศ​ กึ ษาข​ อง​ประเทศไทย​
	 ระยะ​หลังไ​ ด้ร​ ับ​อิทธิพลท​ างต​ ะวันต​ ก

       เมื่อ​พระบาท​สมเด็จ​พระ​จุลจอมเกล้า​เจ้า​อยู่​หัว​ได้​เสด็จ​ขึ้น​เสวย​ราช​สมบัติ ตั้งแต่ พ.ศ. 2411 ทรง​
มุ่งพ​ ัฒนา​ประเทศช​ าติท​ ั้ง​ด้าน​การ​ปกครอง การ​สังคม การ​คมนาคม และ​การศ​ ึกษา เพื่อใ​ห้ป​ ระเทศไทย​เป็น​
ประเทศ​ที่​ทัน​สมัย​ตาม​แบบ​อารยประเทศ และ​ทรง​เล็ง​เห็น​ว่าการ​พัฒนา​ประเทศ​จำ�เป็น​ต้อง​ใช้​บุคคล​ที่​มี​วิชา​
ความ​รู้​มา​รับ​ราชการ ดัง​นั้น การ​จัดการ​ศึกษา​ของ​ไทย​จึง​ต้อง​เปลี่ยนแปลง​ให้​สอดคล้อง​กับ​ความ​ต้องการ​
ของป​ ระเทศช​ าติ

       ใน พ.ศ. 2414 ได้​ทรง​พระ​กรุณา​โปรด​เกล้า​ให้​ตั้ง​โรงเรียน​หลวง​ขึ้น​ใน​พระบรม​มหาราช​วัง โดย​มี​
พระยา​ศรี​สุนทร​โวหาร (น้อย อาจาร​ยาง​กูล) เป็นอ​ าจารย์​ใหญ่ จึงน​ ับ​เป็น​โรงเรียน​แรกท​ ี่​มี​สถาน​ที่​เรียน​ที่จ​ ัดไ​ว้​
โดยเ​ฉพาะ มีฆ​ ราวาสเ​ป็นค​ รู และท​ ำ�การส​ อนต​ ามเ​วลาท​ ี่ก​ ำ�หนด มีก​ ารก​ ำ�หนดว​ ิชาท​ ี่เ​รียน ได้แก่ วิชาภ​ าษาไ​ทย
ภาษา​ต่าง​ประเทศ และ​วิ​ชา​อื่นๆ ซึ่ง​ไม่​เคย​มี​สอน​ใน​โรงเรียน หลัง​จาก​นั้น​ก็ได้​ทรง​พระ​กรุณา​โปรด​เกล้า​ให้​
ตั้ง​โรงเรียน​ต่างๆ อีก​หลาย​ประเภท ใน​ปี พ.ศ. 2427 ได้​ทรง​ตั้ง​โรงเรียน​หลวง​สำ�หรับ​ราษฎร​ขึ้น​เป็น​แห่ง​
แรก คือ โรงเรียน​วัด​มหรรณพ​า​ราม ต่อ​มา​เมื่อ​โรงเรียน​หลวง​ได้​แพร่​หลาย​ออก​ไป​เป็น​จำ�นวน​มาก จึง​ทรง​
พระก​ รุณาโ​ปรด​เกล้าใ​ห้ป​ ระกาศต​ ั้ง​กรมศ​ ึกษาธิการข​ ึ้น ใน​ปี พ.ศ. 2430 เพื่อใ​ห้ม​ ีหน้าท​ ี่ด​ ูแลแ​ ละจ​ ัดการศ​ ึกษา​
โดย​เฉพาะ
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60