Page 60 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 60

1-50 หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา

       ในป​ ี พ.ศ. 2485 กระทรวงธ​ รรมการไ​ด้เ​ปิดโ​รงเรียนอ​ นุบาลใ​นส​ ่วนภ​ ูมิภาคเ​ป็นแ​ ห่งแ​ รก คือ โรงเรียน​
อนุบาล​นครราชสีมา และใ​น​ปี พ.ศ. 2486 เปิด​ที่จ​ ังหวัด​ชลบุรี ตาก พระนครศรีอยุธยา ราชบุรี ลพบุรี สงขลา
พิษณุโลก และอ​ ุดรธานี การข​ ยาย​โรงเรียน​อนุบาลไ​ด้​ทำ�​ติดต่อ​กันเ​รื่อย​มา​จน​สามารถเ​ปิดโ​รงเรียนอ​ นุบาลไ​ด้​
ทั่ว​ทุกจ​ ังหวัดใ​น พ.ศ. 2511 นอกจากน​ ี้ รัฐบาล​ยังไ​ด้ม​ ีน​โย​บายส​ นับสนุน​ให้​เอกชน​ช่วย​จัดการ​ศึกษา​ปฐมวัย
เพื่อเ​ป็นการแ​ บ่งเ​บาภ​ าระข​ อง​รัฐ ดัง​นั้น โรงเรียน​เอกชน​จึง​มีบ​ ทบาท​สำ�คัญ​ต่อ​การ​จัดการ​ศึกษา​ระดับ​ปฐมวัย​
เป็น​อย่าง​มาก และ​โรงเรียน​ที่​เปิด​สอน​ใน​ระดับ​อนุบาล​ส่วน​ใหญ่ จะ​ยึด​แบบ​อย่าง​การ​จัด​อนุบาล​ศึกษา​ของ​
โรงเรียน​อนุบาลละ​อออ​ ุทิศ

       ดัง​นั้น​ใน​เรื่อง​นี้ จึง​จะ​กล่าว​ถึง​รูป​แบบ​ของ​การ​จัดการ​เรียน​การ​สอน​ใน​ระดับ​ปฐมวัย​ศึกษา​ของ​
โรงเรียน​อนุบาลละ​ออ​อุทิศ พอ​เป็น​สังเขป เพื่อ​ให้​นักศึกษา​เข้าใจ​ถึง​ต้นแบบ​ของ​การ​จัดการ​ศึกษา​ใน​ระดับ​
ปฐมวัยศ​ ึกษา ดังนี้

       สถาน​ที่​ศึกษา มี​สถาน​ที่​เรียน​โดย​เฉพาะ​มี​การ​ปลูก​สร้าง​อาคาร​เรียน​ที่​เหมาะ​สม​กับ​เด็ก และ​ปลูก​
สร้างอ​ ย่างถ​ ูก​ต้องต​ าม​หลัก​การ

       จุดม​ ุ่งห​ มาย การ​จัดการ​เรียน​การส​ อน​มีจ​ ุดม​ ุ่ง​หมายท​ ี่ส​ ำ�คัญด​ ังนี้ (อารี รัง​สิน​ ันท์ 2543: 137)
            1)	เพื่อ​เตรียม​สภาพ​จิตใจ​ของ​เด็ก​ให้​พร้อม​ที่​จะ​รับ​การ​ศึกษา​ใน​ขั้น​ต่อ​ไป หัด​ให้​ใช้​เครื่อง​มือ​

ต่างๆ ในก​ าร​เรียน การ​เล่น และ​การป​ ระดิษฐ์ อบรมใ​ห้​เป็นค​ นช​ ่าง​คิด ช่างท​ ำ� ขยัน ไม่​อยู่​นิ่ง​เฉย และเ​ป็นค​ น​
ว่องไว กระฉับกระเฉง

            2)	เพื่ออ​ บรมเ​ด็กใ​หเ้​ป็นค​ นม​ คี​ วามส​ ังเกต มไี​หวพ​ ริบ เฉลียวฉ​ ลาด คิดห​ าเหตผุ​ ลใ​หเ้​กิดค​ วาม​
เข้าใจต​ นเอง ความ​พากเพียร พยายาม และอ​ ดทน ไม่จ​ ับจด

            3)	เพื่ออ​ บรม​ให้​เป็นค​ นพ​ ึ่งต​ นเอง สามารถ​ทำ�​หรือ​ปฏิบัติอ​ ะไร​ได้​ด้วย​ตนเอง เด็ก​ใน​โรงเรียน​
อนุบาลน​ ี้จ​ ะต​ ้องอ​ บรมใ​ห้ช​ ่วยต​ นเองใ​ห้ม​ ากท​ ี่สุด เช่น หัดแ​ ต่งต​ ัว ใส่เ​สื้อ นุ่งก​ างเกง หวผี​ ม รับป​ ระทานอ​ าหาร​
เอง ฯลฯ ทั้งจ​ ะต​ ้องท​ ำ�ใหเ้​ป็นเ​วลาด​ ้วย โดยไ​ม่มพี​ ีเ่​ลี้ยงค​ อยต​ ักเ​ตือน หรือค​ อยร​ ับท​ ำ�ให้ ครเู​ป็นแ​ ตผ่​ ูค้​ อยด​ ูแล
ควบคุม​อยู่​ห่างๆ เท่านั้น

            4)	เพื่อห​ ัดม​ ารยาทแ​ ละศ​ ีลธ​ รรมท​ ั้งใ​นส​ ่วนต​ ัวแ​ ละก​ ารป​ ฏิบัติต​ ่อส​ ังคม และห​ ัดม​ ารยาทใ​นก​ าร​
นั่ง นอน เดิน และ​รับป​ ระทาน​อาหาร หัด​ให้เ​ป็นค​ นส​ ุภาพเ​รียบร้อย ฝึก​นิสัยใ​ห้เ​ป็นค​ น​มี​ศีลธ​ รรม​อันด​ ี จิตใจ
เข้ม​แข็ง มีร​ ะเบียบ รักษา​วินัย มี​ความ​สามัคคี​ซึ่งก​ ัน​และก​ ัน

            5)	เพื่อ​ปลูก​ฝัง​นิสัย​ทาง​สุขภาพ​อนามัย รู้จัก​ระวัง​สุขภาพข​ อง​ตน และ​รับ​ประทานอ​ าหารเ​ป็น​
เวลา รู้จักร​ ักษา​ร่างกาย​ให้​สะอาด และ​แข็ง​แรงอ​ ยู่​เสมอ

            6)	เพื่อ​อบรม​ให้เ​ป็น​คน​ร่าเริงต​ ่อช​ ีวิต มีก​ ารส​ อน​ร้องเ​พลง และก​ ารเ​ล่นท​ ี่​สนุกสนาน ทั้งนี้เ​พื่อ​
จะ​ได้​เป็นน​ ักส​ ู้​ซึ่ง​เต็ม​ไป​ด้วยค​ วาม​รื่นเริง​เบิก​บานแ​ ละ​คิดก​ ้าวหน้า​เสมอ

       หลักสูตร ได้ม​ ี​การก​ ำ�หนดว​ ิชา​ที่​เรียน​และอ​ ัตรา​เวลาเ​รียนไ​ว้​อย่าง​ชัดเจน
       การ​จัดการ​เรียน​การ​สอน สอน​ตาม​แนว​คิด​ของ​เฟ​รอ​เบล โดย​ใช้​วิธี​สอน​แบบ​เรียน​ปน​เล่น ส่ง​เสริม​
ให้​เด็ก​ลงมือป​ ฏิบัติ​กิจกรรม​ด้วย​ตนเอง และ​ให้​เหมาะส​ ม​กับ​ประเพณีแ​ ละ​วัฒนธรรม​ไทย ทั้ง​ยัง​สามารถน​ ำ�​
ไป​ปฏิบัติใ​นช​ ีวิตป​ ระจำ�​วัน​ได้
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65