Page 64 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 64

1-54 หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา

       จากท​ ี่ก​ ล่าวม​ าส​ รุปไ​ด้ว​ ่า การป​ ฐมวัยศ​ ึกษาข​ องป​ ระเทศไทยร​ ะยะห​ ลังไ​ด้ร​ ับอ​ ิทธิพลท​ างต​ ะวันต​ ก ได​้
ดำ�เนิน​การ​อย่าง​เป็น​ระบบ​และ​แพร่​หลาย​ไป​ยัง​ประชาชน​ให้​มี​โอกาส​ได้​ศึกษา​เล่า​เรียน​ใน​สถาน​ศึกษา​ที่​อยู่​ใน​
การ​ดูแล​ของ​รัฐ​ใน​ระ​ยะ​แรกๆ ต่อ​มา​เริ่ม​ให้​เอกชน​เข้า​มา​ร่วม​จัดการ​ศึกษา​มาก​ขึ้น โดย​จัด​ใน 2 รูป​แบบ คือ
รูป​แบบ​ของ​โรงเรียน และ​รูป​แบบ​ของ​สถาน​รับ​เลี้ยง​เด็ก หรือ​สถาน​ดูแล​และ​พัฒนา​เด็ก ซึ่ง​มี​ระยะ​เวลา​ใน​
การเ​รียนแ​ ตกต​ ่างก​ ันต​ ั้งแต่ 1-3 ปี แนวทางใ​นก​ ารจ​ ัดการศ​ ึกษาม​ ีท​ ั้งใ​ช้แ​ นวค​ ิดข​ องเ​ฟร​ อเ​บลแ​ ละม​ อนเ​ตสซ​ อร​ ี
กับ​การ​สอน​หนังสือ​เพื่อ​ให้​เด็ก​อ่าน​ออก เขียน​ได้ และ​คิด​เลข​เป็น เพื่อ​เตรียม​ตัว​ที่​จะ​เรียน​ใน​ระดับ​ประถม​
ศึกษา​ต่อ​ไป การ​ปฐมวัย​ศึกษา​ได้​รับ​ความ​สนใจ​จาก​รัฐบาล​แต่ละ​ยุค​สมัย​มาก​ยิ่ง​ขึ้น​ตาม​ลำ�ดับ ดัง​จะ​เห็น​ได้​
จากเ​นื้อหาส​ าระใ​นแ​ ผนการศ​ ึกษาแ​ ห่งช​ าติแ​ ต่ละฉ​ บับ ที่ร​ ัฐบาลไ​ด้ก​ ำ�หนดน​ โยบาย และแ​ นวทางใ​นก​ ารจ​ ัดการ​
ปฐมวัยศ​ ึกษาไ​ว้อ​ ย่างช​ ัดเจน

เร่อื ง​ท่ี 1.3.3 การป​ ฐมวยั ศ​ กึ ษา​ของป​ ระเทศไทยใ​นป​ ัจจุบนั

       เนื่องจากก​ ารก​ ำ�หนด​นโยบาย แผน​พัฒนา​เด็ก รวม​ถึง​การ​ดำ�เนินโ​ครงการ​ต่างๆ ใน​ปัจจุบันจ​ ะค​ ำ�นึง​
ถึง​กรอบ​และ​แนวทาง​ที่​ได้​กำ�หนด​ไว้​ใน​พระ​ราช​บัญญัติ​การ​ศึกษา​แห่ง​ชาติ พุทธศักราช 2542 ดัง​นั้น ​ใน
​เรื่องน​ ี้จ​ ะ​กล่าวถ​ ึง​ประเด็นส​ ำ�คัญท​ ี่เ​กี่ยวข้องก​ ับ​การป​ ฐมวัยศ​ ึกษาห​ ลังจ​ ากท​ ี่​มี​การป​ ระกาศใ​ช้พ​ ระร​ าชบ​ ัญญัต​ิ
การ​ศึกษาแ​ ห่ง​ชาติ​ใน 3 ประเด็น​หลัก คือ

       1.	 นโยบายแ​ ละแ​ ผน​พัฒนา​เด็ก​ปฐมวัย
       2.	 การด​ ำ�เนินง​ านเ​พื่อ​พัฒนา​เด็ก​ปฐมวัย​ของห​ น่วยง​ าน​ที่เ​กี่ยวข้อง
       3.	 การต​ ิดตามแ​ ละป​ ระเมิน​ผลก​ าร​จัดการ​ปฐมวัยศ​ ึกษา

1.	 นโยบายแ​ ละ​แผนพ​ ัฒนาเ​ด็ก​ปฐมวัย

       สำ�นักงานก​ องทุน​สนับสนุนก​ าร​สร้าง​เสริมสุข​ภาพ (2553: 2-3) ได้​วิเคราะห์​นโยบายแ​ ละแ​ ผนพ​ ัฒนา​
เด็กป​ ฐมวัย​ไว้ ดังนี้

       1)	 พระร​ าช​บญั ญัต​กิ ารศ​ กึ ษาแ​ หง่ ​ชาติ พ.ศ. 2542
       เจตนารมณ์​สำ�คัญ​ของ​การ​จัดการ​ศึกษา​ตามพ​ระ​ราช​บัญญัติ​การ​ศึกษา​แห่ง​ชาติ พ.ศ. 2542 และ​
ที่​แก้ไข​เพิ่ม​เติม (ฉบับ​ที่ 2) พ.ศ. 2545 ยึด​หลัก​ว่า ผู้​เรียน​ทุก​คน​มี​ความ​สามารถ​ที่​จะ​เรียน​รู้​ได้​และ​ถือว่า​
ผู้​เรียน​มี​ความ​สำ�คัญ​ที่สุด กระบวนการ​จัดการ​ศึกษา​ต้อง​ส่ง​เสริม​ให้​ผู้​เรียน​สามารถ​พัฒนา​ตาม​ธรรมชาติ​
และ​เต็ม​ตาม​ศักยภาพ ทั้งนี้ โดย​มุ่ง​หวัง​ว่า​จะ​นำ�​ไป​สู่​การ​พัฒนา​คน​ไทย​ให้​เป็น​มนุษย์​ที่​สมบูรณ์​ทั้ง​ร่างกาย
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69