Page 61 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 61

วิวัฒนาการข​ อง​การ​ปฐมวัยศ​ ึกษา 1-51

       การก​ ำ�หนดช​ ั้น​เรียน​และเ​วลาเ​รียน การเ​รียน​ในร​ ะดับน​ ี้ม​ ี​กำ�หนด 2 ปี คือ ชั้น​อนุบาล​ปี​ที่ 1 และป​ ีท​ ี่
2 สำ�หรับร​ ะยะ​เวลา​เรียนจ​ ะเ​ริ่มเ​รียนต​ ั้งแต่ 9.00-15.00 น. ซึ่ง​โรงเรียน​จะก​ ำ�หนด​ตาราง​สอน​ประจำ�​วัน เพื่อ​
ให้​ครูส​ อนว​ ิชาแ​ ละจ​ ัด​กิจกรรม​ต่างๆ เพื่อฝ​ ึก​ให้​เด็กส​ ังเกต คิด​โดย​การใ​ช้ว​ ิธีก​ ารต​ ่างๆ เช่น สนทนา เล่า​นิทาน
ร้องเ​พลง วาดภ​ าพ ฯลฯ และส​ ่งเ​สริมใ​ห้เ​ด็กไ​ด้พ​ ักผ​ ่อนด​ ้วย เนื่องจากเ​ด็กว​ ัยน​ ี้ม​ ีค​ วามส​ นใจใ​นช​ ่วงส​ ั้น การจ​ ัด​
กิจกรรมต​ ่างๆ จึงใ​ช้​เวลาช​ ่วงส​ ั้นๆ คือ ช่วง​ละ 15 นาที

       ครูแ​ ละบ​ ุคลากร เป็นผ​ ู้ม​ ีค​ วามร​ ู้ เชี่ยวชาญใ​นเ​รื่องก​ ารศ​ ึกษาร​ ะดับป​ ฐมวัย และก​ ารป​ ระถมศ​ ึกษาเ​ป็น​
อย่าง​ดี และม​ ี​คุณสมบัติ​ที่เ​หมาะ​สม​สำ�หรับ​สอน​เด็กแ​ ละเ​ป็นแ​ บบอ​ ย่าง​ที่ด​ ี​แก่เ​ด็ก

       การจ​ ัดการศ​ ึกษาร​ ะดับป​ ฐมวัยข​ องโ​รงเรียนอ​ นุบาลล​ ะอ​ ออ​ ุทิศ ได้ร​ ับค​ วามส​ นใจจ​ ากบ​ ิดาม​ ารดาแ​ ละ​
ผู้​ปกครอง​เป็น​อย่าง​มาก ต่อ​มา​รัฐ​มีน​โย​บาย​สนับสนุน​ให้​เอกชน​ช่วย​จัดการ​ศึกษา​ใน​ระดับ​ปฐมวัย เพื่อ​
เปน็ การแ​ บ่งเ​บาภ​ าระข​ องร​ ฐั โดยร​ ัฐใ​ห้การช​ ่วยเ​หลืออ​ ุดหนุนท​ างด​ ้านก​ ารเ​งิน และช​ ่วยผ​ ลิตค​ รแู​ ละอ​ บรมค​ รแ​ู ก​่
โรงเรยี นอ​ นบุ าลเ​อกชนด​ ว้ ย สว่ นก​ ารจ​ ัดการเ​รียนก​ ารส​ อนน​ ัน้ ยดึ แ​ บบอ​ ย่างห​ ลักสูตรแ​ ละแ​ นวก​ ารจ​ ดั การเ​รยี น
ก​ ารส​ อนเ​ชน่ เ​ดยี วก​ บั ข​ องโ​รงเรยี นอ​ นบุ าลล​ ะอ​ ออ​ ทุ ศิ ดงั น​ ัน้ จงึ ก​ ลา่ วไ​ดว​้ า่ โ​รงเรยี นอ​ นบุ าลล​ ะอ​ ออ​ ทุ ศิ เปน็ ส​ ถาน​
ศึกษาแ​ ห่ง​แรก​ที่​มีก​ าร​จัดการ​ศึกษา​ระดับป​ ฐมวัยอ​ ย่าง​เป็นร​ ะบบ และ​สอดคล้องก​ ับ​แนว​การจ​ ัดการ​ศึกษาใ​น​
ระดับ​นี้​ตาม​แนวคิด​หลัก​สากล นับ​แต่​นั้น​เป็นต้น​มา การ​จัดการ​ศึกษา​ระดับ​ปฐมวัย​ก็ได้​รับ​ความ​สนใจ​จาก
​ผู้​ที่​มี​ส่วน​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​จัดการ​ศึกษา​ของ​ชาติ ทั้ง​ยัง​ตระหนัก​ถึง​ความ​สำ�คัญ​ของ​การ​จัดการ​ศึกษา​ให้​แก่​
เด็กใ​นร​ ะดับ​นี้​เพิ่ม​มากข​ ึ้น

4.	 การป​ ฐมวยั ศ​ กึ ษาย​ ุค​กา้ วหนา้

       เนื่องจากร​ ัฐไ​ด้ต​ ระหนักถ​ ึงค​ วามส​ ำ�คัญข​ องก​ ารศ​ ึกษาร​ ะดับป​ ฐมวัยม​ ากข​ ึ้น จึงไ​ด้ก​ ำ�หนดน​ โยบายใ​น​
แผนการ​ศึกษาอ​ ย่าง​ต่อเ​นื่อง ในท​ ี่น​ ี้​จะ​ขอก​ ล่าว​ถึง​การป​ ฐมวัยศ​ ึกษาใ​นแ​ ผนการศ​ ึกษา​ชาติ พ.ศ. 2494 จนถึง​
แผนการศ​ ึกษาแ​ หง่ ช​ าติ พ.ศ. 2535 เนือ่ งจากแ​ ผนการศ​ กึ ษาช​ าติ พ.ศ. 2494 เป็นแ​ ผนการศ​ กึ ษาช​ าตฉิ​ บบั แ​ รกท​ ี​่
กล่าวถ​ ึงก​ ารจ​ ัดการศ​ ึกษาป​ ฐมวัยไ​วอ้​ ย่างช​ ัดเจน และก​ ารจ​ ัดการศ​ ึกษาป​ ฐมวัยห​ ลังจ​ ากแ​ ผนการศ​ ึกษาแ​ ห่งช​ าติ
พ.ศ. 2535 จะก​ ล่าวร​ าย​ละเอียดใ​นเ​รื่องท​ ี่ 1.3.3 การป​ ฐมวัยศ​ ึกษา​ของ​ประเทศไทยใ​นป​ ัจจุบัน เนื่องจากม​ ีก​ าร​
ประกาศ​ใช้​พระ​ราช​บัญญัติ​การ​ศึกษา​แห่ง​ชาติ พุทธศักราช 2542 ราย​ละเอียด​ของ​การ​จัด​กา​รปฐมวัย​ศึกษา
​ที่​ปรากฏ​ใน​แผนการ​ศึกษา​แห่ง​ชาติ (สำ�นักงาน​ปลัด​กระทรวง​ศึกษาธิการ 2530; สำ�นักงาน​คณะ​กรรมการ​
การศ​ ึกษาแ​ ห่ง​ชาติ 2535; อุดม​ลักษณ์ กุล​พิจิตร และ​คณะ 2539: 10, 17-18) มี​ดังนี้

       แผนการ​ศึกษา​ชาติ พ.ศ. 2494 เป็น​แผนการ​ศึกษา​ชาติ​ฉบับ​แรก​ที่​ระบุ​การ​จัดการ​ศึกษา​ใน​ระดับ​
อนุบาล​อย่าง​ชัดเจน​ว่า “การ​ศึกษา​ชั้น​อนุบาล” เป็นการ​ศึกษา​ระดับ​ก่อน​ประถม​ศึกษา ไม่​กำ�หนด​ชั้น​หรือ​
จำ�นวน​ปี​ที่​เรียน แต่​กำ�หนด​เกณฑ์​อายุ 4-7 ปี มี​หลัก​การ​ใน​การ​อบรม​นิสัย และ​เตรียม​ความ​พร้อม​ที่​จะ​รับ​
การ​ศึกษา​ใน​ระดับ​ประถม​ศึกษา การ​จัดการ​ศึกษา​ปฐมวัย​ตาม​แผนการ​ศึกษา​ฉบับ​นี้​แบ่ง​การ​จัดการ​ศึกษา
ออก​เป็น 2 ลักษณะ คือ

            1)	สำ�หรับเ​ด็กอ​ ายตุ​ ํ่าก​ ว่า 4 ขวบ เป็นการ​ศึกษาข​ องเ​ด็กเ​ล็ก ซึ่งร​ ัฐพ​ ยายามท​ ีจ่​ ะจ​ ัดต​ ั้งโ​รงเรียน​
เพื่อแ​ บ่ง​เบาภ​ าระพ​ ่อแ​ ม่ และ​ฝึก​จิตใจเ​ด็กใ​ห้ถ​ ูก​ต้องต​ ั้งแต่เ​ล็ก
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66