Page 57 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 57

วิวัฒนาการ​ของ​การ​ปฐมวัยศ​ ึกษา 1-47

       เวลาเ​รียน กำ�หนดเ​ป็น 3 ระยะ คือ ระยะแ​ รกต​ ั้งแต่ 10.00-12.00 น. ระยะท​ ีส่​ อง เวลา 13.00-14.30 น.
และร​ ะยะท​ ี่​สาม เวลา 15.00-16.00 น.

       1.2		การ​ปฐมวัย​ศึกษา​ใน​รูป​แบบ​ของ​สถาน​รับ​เล้ียง​เด็ก การ​ปฐมวัย​ศึกษา​ใน​รูป​แบบ​ของ​สถาน​รับ​
เลี้ยง​เด็ก ได้เ​ริ่ม​ดำ�เนิน​การ​ใน พ.ศ. 2433 โดย​พระอ​ ัครชายาเ​ธอ พระองค์​เจ้าส​ ายส​ ​วลี​ภิรมย์ กรมข​ ุน​สุทธา​​-
สิ​นี​นาฎ ในร​ ัชกาลท​ ี่ 5 เนื่องจากส​ าเหตุท​ ี่​พระองค์ส​ ูญเ​สียพ​ ระ​ราช​ธิดาท​ ี่​มี​พระช​ นมายุเ​พียง 6 ชันษา ดัง​นั้น
​พระ​อัครชายา​เธอ​จึง​มีด​ ำ�ริ​ที่​จะร​ วบรวมเ​ด็กก​ ำ�พร้า เด็กย​ ากจน เด็กจ​ รจัดเ​หล่าน​ ี้​เข้า​มา​เลี้ยง เพื่อ​ให้การด​ ูแล​
เรื่อง​อาหาร สุขภาพ และก​ าร​ศึกษา เพื่อช​ ่วยใ​ห้​เด็กเ​ติบโตเ​ป็นพ​ ลเมือง​ดีต​ ่อ​ไป

       สถานร​ ับ​เลี้ยงเ​ด็ก จึง​ได้ก​ ่อต​ ั้งข​ ึ้น​ที่​ตำ�บลส​ วนมะลิ ถนนบ​ ำ�รุงเมือง และ​เปิดด​ ำ�เนินก​ ารเ​มื่อ​วัน​ที่ 1
เมษายน 2433 พระบาทส​ มเด็จพ​ ระ​จุลจอมเกล้า​เจ้า​อยู่ห​ ัว ทรง​พระก​ รุณา​โปรดเ​กล้าใ​ห้​เรียก​ชื่อ​ว่า โรง​เลี้ยง​
เด็กข​ อง​พระ​อัครชายา​เธอ โดย​มีก​ รมห​ มื่นด​ ำ�รง​ราชา​นุ​ภาพ เป็น​ผู้อ​ ำ�นวยก​ าร​โรงเ​ลี้ยง​เด็กแ​ ห่งน​ ี้เ​ป็น​คนแ​ รก

       โรง​เลี้ยง​เด็ก​ของ​พระ​อัครชายา​เธอ รับ​เด็ก​ตั้งแต่​แรก​เกิด​จนถึง​อายุ​ไม่​เกิน 11 ปี สำ�หรับ​เด็ก​หญิง
และไ​ม่เ​กิน 13 ปี สำ�หรับ​เด็กช​ าย เด็กท​ ี่​พ่อแ​ ม่ม​ ี​ฐานะ​ยากจน หรือเ​ป็นเ​ด็กก​ ำ�พร้า​หรือ​ทุพพลภาพ ใน​ระยะ​
แรกม​ ีเ​ด็ก​รวม​ทั้ง​สิ้น 108 คน เป็นเ​ด็ก​ชาย 74 คน และเ​ด็ก​หญิง 34 คน เด็ก​เหล่า​นี้จ​ ะ​ได้ร​ ับ​การด​ ูแลใ​น​เรื่อง​
การก​ ิน การน​ อน สุขภาพ ฝึกอ​ บรม​มารยาท และเ​มื่อม​ ีอายุพ​ อ​สมควร​ก็​ให้เ​รียน​หนังสือ ฝึก​อาชีพ​และ​หา​งาน​
ให้​ทำ� ตามล​ ำ�ดับ ซึ่งบ​ ิดา​มารดาข​ อง​เด็ก​เหล่า​นี้ไ​ม่​ต้องเ​สียค​ ่าใ​ช้จ​ ่ายใ​ดๆ ทั้งส​ ิ้น

       ดัง​นั้น​จึง​กล่าว​ได้​ว่า โรง​เลี้ยง​เด็ก​ของ​พระ​อัครชายา​เธอ เป็นการ​ริเริ่ม​งาน​ปฐมวัย​ศึกษา​ใน​รูป​ของ​
สถาน​เลี้ยง​เด็ก​ขึ้น​เป็น​ครั้ง​แรก และ​เป็นการ​ให้​บริการ​แก่​เด็ก​กลุ่ม​ด้อย​โอกาส​ให้​สามารถ​ยก​ระดับ​ความ​เป็น​
อยู่​และค​ ุณภาพ​ชีวิตใ​ห้เ​ป็น​ประชากรท​ ี่​มี​คุณค่าข​ อง​ประเทศ​ชาติต​ ่อ​ไป ทั้งนี้เ​พราะส​ ถานเ​ลี้ยง​เด็กแ​ ห่ง​นี้​ได้​รับ​
การ​สนับสนุน​และ​สมทบ​ทุน​ทรัพย์​จาก​เจ้า​นาย​ชั้น​ผู้ใหญ่ ตลอด​จน​ได้​รับ​การ​อบรม​สั่ง​สอน​การ​เอาใจ​ใส่​ดูแล​
จากค​ รูอ​ ย่างเ​ต็มท​ ี่ จนก​ ล่าวไ​ด้ว​ ่า เด็กท​ ี่เ​กิดแ​ ละเ​ติบโตใ​นส​ มัยน​ ั้นแ​ ม้จ​ ะเ​กิดเ​ป็นบ​ ุตรข​ ้าราชการ หรือผ​ ู้ดีม​ ีส​ กุล​
บางค​ น กย็​ ังไ​มไ่​ดร้​ ับก​ ารอ​ บรมบ​ ่มน​ ิสัยด​ เี​ท่าเ​ด็กจ​ ากโ​รงเ​ลี้ยงเ​ด็ก จึงเ​ป็นการป​ ระกันว​ ่าเ​ด็กเ​หล่าน​ ีจ้​ ะเ​ติบโตข​ ึ้น​
มีต​ ำ�แหน่ง​หน้าที่​ราชการ และม​ ี​ฐานะ​ดีใ​น​เวลา​ต่อม​ า

2.	 การ​ปฐมวยั ศ​ ึกษาย​ ุคม​ ร​ี ะบบ​โรงเรยี น

       เมื่อ​รัฐ​ได้​กำ�หนด​โครงการ​ศึกษา​ชาติ​ขึ้น​มา ได้​มี​การ​จัดการ​ศึกษา​ใน​ระดับ​ปฐมวัย เป็น 2 ลักษณะ
คือ การ​จัดป​ ฐมวัยศ​ ึกษา​ของร​ ัฐ และก​ าร​จัด​ปฐมวัยศ​ ึกษา​ของ​เอกชน

       2.1 การจ​ ดั ป​ ฐมวยั ศ​ กึ ษาข​ องร​ ฐั    จากห​ ลกั ฐ​ านแ​ ละป​ ระวตั กิ ารศ​ กึ ษาข​ องไ​ทยแ​ สดงใ​หเ​้ หน็ ว​ า่ ความค​ ดิ
​เกี่ยว​กับก​ าร​ปฐมวัยศ​ ึกษา​ได้​พัฒนาเ​รื่อย​มา​จาก​การศ​ ึกษา​ในร​ ูป​ของช​ ั้น​มูล หรือ​ชั้น​เตรียมป​ ระถมศ​ ึกษา และ​
การ​จัด​ปฐมวัย​ศึกษา​ตาม​แนว​คิด​ของ​เฟ​รอ​เบล​และ​มอน​เตส​ซอ​รี ได้​เริ่ม​มี​อิทธิพล​ต่อ​การ​จัด​ปฐมวัย​ศึกษา​
ของไ​ทย ตั้งแต่​ปลายร​ ัช​สมัย​พระบาทส​ มเด็จ​พระ​จุลจอมเกล้า​เจ้าอ​ ยู่​หัว ทั้งนี้​ เนื่องจาก​พระองค์​ได้​เคยเ​สด็จ​
ประพาสท​ วีปย​ ุโรป และโ​ปรดใ​ห้ผ​ ู้ม​ ีหน้าท​ ี่จ​ ัดการศ​ ึกษาไ​ปศ​ ึกษาแ​ ละด​ ูง​ านต​ ่างป​ ระเทศ ดังป​ รากฏใ​นโ​ครงการ​
ศึกษา​ชาติ พ.ศ. 2441 เป็นต้น​มา ซึ่ง​โครงการศ​ ึกษา​ฉบับ​นี้​ได้​กำ�หนดใ​ห้​จัดการศ​ ึกษา​ตั้งแต่​ระดับ​มูล​ศึกษา
ซึ่ง​เทียบไ​ด้ก​ ับ​การป​ ฐมวัยศ​ ึกษา
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62