Page 58 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 58
1-48 หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
คำ�ว่า “มูลศ ึกษา” หมายถึง การศ ึกษาข ั้นต ้นก ่อนจ ะเข้าเรียนในชั้นประถมศ ึกษา มีก ำ�หนด 3 ปี โดย
เข้าเรียนอายุระหว่าง 7-9 ปี เรียนจบแล้วสามารถเรียนต่อชั้นประถมศึกษาได้ และถ้าไม่เรียนต่อก็สามารถ
ออกไปช ่วยพ ่อแ ม่ท ำ�มาห ากินได้
สำ�หรับการจ ัดปฐมวัยศึกษาในร ะยะแรกน ี้ จัดเป็น 3 รูปแบบ คือ
1) โรงเรยี นบ รุ พบท หมายถ งึ โรงเรยี นท สี่ อนเดก็ ใหม้ คี วามร กู้ อ่ นท จี่ ะเขา้ โรงเรยี นป ระถมศ กึ ษา
โรงเรียนน ี้อาจจัดแยกเป็นโรงเรียนต่างห าก หรือเป็นสาขาข องโรงเรียนประถมศ ึกษาก็ได้ และจะร ับเด็กอายุ
7 ปี โดยม ีจุดม ุ่งหมายเพื่อฝึกเด็กให้มีความร ู้พ อที่จ ะเข้าเรียนในโรงเรียนป ระถมศ ึกษา
2) โรงเรยี น ก.ข. นโม หมายถ ึงโรงเรียนท ี่สอนให้เด็กส ามารถเขียน อ่าน และคิดคำ�นวณเลข
ซึ่งจะสอนอยู่ตามวัดบ้าง ตามบ้านบ้าง โรงเรียนชนิดนี้จัดสำ�หรับคนทั่วไปและไม่มีการกำ�หนดอายุ เมื่อ
เรียนร ู้ไตรภาค คือ เขียน อ่าน และคิดเลขได้แล้ว จะได้เข้าเรียนในโรงเรียนป ระถมศึกษา
3) โรงเรียนกินเดอกาเตน (Kindergarten) หมายถึงโรงเรียนที่มีการจัดการเรียนการสอนใน
ระดับม ูลศึกษาเช่นเดียวกับโรงเรียน ก.ข. นโม แต่โรงเรียนก ินเดอกาเตน รับเด็กเข้าเรียนโดยไม่จำ�กัดอายุ
และให้เรียนอ ่าน เขียน คิดเลข ตามว ิธีเรียนอ ย่างเก่า โดยอ าจเรียนต ามบ ้านหรือวัด
โรงเรียนป ระถมศ ึกษาแ ห่งใดไมเ่ปิดส อนช ั้นม ูลศ ึกษา จะเปิดส อนช ั้นเตรียมเพียง 1 ปี สำ�หรับ
สอนเด็กให้มีความรู้พอเข้าเรียนในชั้นประถมศึกษาอีกชั้นหนึ่งแทนมูลศึกษา 3 ปีก็ได้ ทั้งนี้เพื่อเตรียมเด็ก
ข ึ้นเรียนชั้นประถมศ ึกษา การสอนในชั้นม ูลและชั้นประถมศ ึกษาจ ึงค ล้ายคลึง หรือซํ้ากันอ ยู่บ้าง
2.2 การจ ัดปฐมวยั ศ กึ ษาของเอกชน ใน พ.ศ. 2454 โรงเรียนว ัฒนาว ิทยาลัย ได้จัดต ั้งแ ผนกอนุบาล
ขึ้นเป็นแ ห่งแรก ดำ�เนินก ารโดยน างสาวเอ็ดนา ซานา โคล ด์ (Miss Edna Sana Cold) ซึ่งได้จ ัดการสอนตาม
แนวข องเฟร อเบล โรงเรยี นแ หง่ น มี้ คี รไู ทยท สี่ �ำ เรจ็ ก ารอ นบุ าลศ กึ ษาจ ากป ระเทศส หรฐั อเมรกิ า และไดน้ �ำ ความร ู้
และแ นวคิดม าปรับปรุงก ารจ ัดปฐมวัยศ ึกษา ทั้งในด ้านการเรียนก ารสอน และวัสดุค รุภัณฑ์
การร ับเด็กท ี่เข้าเรียนในโรงเรียนน ี้จ ะร ับท ั้งเด็กช ายแ ละห ญิงท ี่ม ีอายุร ะหว่าง 3-6 ปี เพื่อม าฝ ึกอ บรม
ในเรื่องต่างๆ เช่น การส ร้างสุขน ิสัย มารยาทต ่างๆ เป็นต้น นอกจากนี้ย ังม ีก ารฝ ึกค วามพ ร้อมด้านส ายตา และ
กล้ามเนื้อให้ป ระสานส ัมพันธ์ก ัน โดยมีค รูม าส อนว ิชาศ ิลปะ การร ้องรำ�ทำ�เพลง และใช้วิธีส อนตามแ บบข อง
เฟรอเบล
ต่อม าในป ี พ.ศ. 2466 โรงเรียนร าชินีได้เปิดแ ผนกอ นุบาลข ึ้น โดยร ับเด็กท ั้งช ายแ ละห ญิง อายุ 3-5 ปี
และท ำ�การสอนต ามแ นวข องมอนเตสซอรีและเฟร อเบล ต่อมาในปี พ.ศ. 2470 โรงเรียนมาร์แตร์เดอี ได้เปิด
แผนกอ นุบาล รับน ักเรียนช าย-หญิง โดยใชแ้ นวก ารส อนต ามแ บบข องเฟร อเบล และท ีโ่รงเรียนแ ห่งน ีพ้ ระบาท
สมเด็จพ ระเจ้าอยู่หัวอาน ันทม หิดลแ ละพ ระบาทส มเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอ ดุลยเดช ได้ท รงศ ึกษาเล่าเรียน
ชั้นอนุบาลเมื่อครั้งยังทรงพ ระเยาว์
ในปลายรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีโรงเรียนราษฎร์มากขึ้น การจัด
สอนวิชาต่างๆ ก็สอนตามความพอใจของแต่ละโรงเรียนไม่เป็นระเบียบแบบแผนเดียวกัน รัฐจึงได้ตรา
พระร าชบัญญัติโรงเรียนร าษฎร์ฉ บับแรกของไทยข ึ้นใช้ เมื่อว ันท ี่ 5 มิถุนายน 2461 และในพระราชบัญญัติน ี้
แสดงให้เห็นว่าการปฐมวัยศึกษาในรูปของอนุบาลได้เริ่มมีระบบและมีแนวปฏิบัติที่ชัดเจนขึ้น โดยเฉพาะ