Page 62 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 62

1-52 หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา

            2)	สำ�หรับ​เด็ก​อายุ 4-7 ขวบ เป็นการ​ศึกษา​ชั้น​อนุบาล เริ่ม​จาก​โรงเรียน​เด็ก​เล็ก​หรือ​เด็ก​ที่​
มีอายุร​ ะหว่าง 4-7 ขวบ

            แผนการศ​ ึกษาฉ​ บับน​ ี้ม​ ีก​ ารก​ ำ�หนดจ​ ุดม​ ุ่งห​ มายก​ ารจ​ ัดการศ​ ึกษาต​ ามว​ ัยข​ องผ​ ู้เ​รียน โดยม​ ีก​ าร​
กำ�หนด​อายุผ​ ู้เ​รียน แต่ไ​ม่ไ​ด้ก​ ำ�หนดจ​ ำ�นวนป​ ีท​ ี่เ​รียน มี​การเ​ปลี่ยน​การเ​รียก​ชื่อก​ ารศ​ ึกษาใ​นร​ ะดับป​ ฐมวัย​จาก​
คำ�​ว่า “มูลศ​ ึกษา” มา​ใช้ค​ ำ�​ว่า “การศ​ ึกษา​ชั้นอ​ นุบาล” และม​ ุ่ง​ฝึกอ​ บรมน​ ิสัย และฝ​ ึก​ประสาท​ไว้​ให้พ​ ร้อมท​ ี่​จะ​
รับ​การ​ศึกษาร​ ะดับป​ ระถม​ศึกษา

       แผนการ​ศึกษา​แห่ง​ชาติ พ.ศ. 2503 เนื้อหา​สาระ​ของ​แผนการ​ศึกษา​ชาติ​ฉบับ​นี้ เปลี่ยนแปลง​จาก​
เดิม​มาก และ​ได้​แบ่ง​การ​ศึกษา​ออก​เป็น 4 ระดับ คือ อนุบาล​ศึกษา ประถม​ศึกษา มัธยมศึกษา และ​
อุดมศึกษา

       การ​จัด​ระบบก​ าร​ศึกษาพ​ ยายาม​ให้ส​ อดคล้อง​กับแ​ ผนเ​ศรษฐกิจ​และแ​ ผนป​ กครองข​ อง​ประเทศ โดย​
เน้น​ถึง​องค์ 4 ของ​การ​ศึกษา คือ จริยศึกษา พลศึกษา พุทธิ​ศึกษา และ​หัตถศึกษา ใน​ส่วน​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​
การ​ปฐมวัย​ศึกษา มีด​ ังนี้

       การ​อนุบาล​ศึกษา ได้แก่ การ​อบรม​เบื้อง​ต้น​ให้​กุลบุตร กุลธิดา พร้อม​ที่​จะ​รับ​การ​ศึกษา​ระดับ​
ประถม​ศึกษาต​ ่อ​ไป และ​เป็นการศ​ ึกษา​ก่อน​ภาคบ​ ังคับ อาจ​จัด​เป็น​อนุบาลท​ ี่​มี 2 ชั้น​หรือ 3 ชั้น หรือ​จัด​ชั้น
เ​ด็ก​เล็ก 1 ชั้น ใน​โรงเรียน​ประถมศ​ ึกษา โดยก​ ำ�หนด​อายุร​ ะหว่าง 3-6 ปี ต่าง​กับแ​ ผนการ​ศึกษา​ชาติ พ.ศ. 2494
ที่​ได้ก​ ำ�หนดใ​ห้การ​ศึกษา​ชั้น​อนุบาลเ​ริ่มจ​ าก​โรงเรียน​เด็ก​เล็ก​หรือเ​ด็กท​ ี่ม​ ีอายุ​ระหว่าง 4-7 ปี

       แผนการ​ศึกษา​แห่ง​ชาติ พ.ศ. 2520 ให้​ความ​สำ�คัญ​กับ​การ​ศึกษา​ว่า​เป็นก​ระ​บวน​การ​ต่อ​เนื่อง​ตลอด​
ชีวิต เพื่อม​ ุ่งเ​สริมส​ ร้างค​ ุณภาพข​ องพ​ ลเมืองใ​ห้ส​ ามารถด​ ำ�รงช​ ีวิตแ​ ละท​ ำ�​ประโยชนแ์​ ก่ส​ ังคมโ​ดยเ​น้นก​ ารศ​ ึกษา​
เพื่อเ​สริมส​ ร้างค​ วามอ​ ยูร่​ อดป​ ลอดภัยม​ ั่นคง และผ​ าสุกร​ ่วมก​ ันใ​นส​ ังคม โดยเ​ฉพาะใ​นร​ ะดับก​ ่อนป​ ระถมศ​ ึกษา
ซึ่งเ​ป็นการ​ศึกษา​ที่​มุ่ง​อบรมเ​ลี้ยง​ดู​เด็ก​ก่อน​การ​ศึกษาภ​ าคบ​ ังคับ เพื่อเ​ตรียมค​ วาม​พร้อม​ใน​ทุกด​ ้านใ​ห้ด​ ี​พอที่​
จะ​เข้า​รับก​ าร​ศึกษา​ต่อ​ไป ทั้งนี้​รัฐไ​ด้ก​ ำ�หนดน​ โยบาย ดังนี้

            1)	เร่งรัด​และ​สนับสนุน​การ​อบรม​เลี้ยง​ดู​ใน​วัย​ก่อน​ประถม​ศึกษา โดย​รัฐ​จะ​สนับสนุน​ให้​
ท้อง​ถิ่น​และภ​ าคเ​อกชนจ​ ัดม​ าก​ที่สุด รัฐ​จะ​ทำ�​เพียงเ​ป็น​ตัวอย่าง​และ​เพื่อ​การค​ ้นคว้าว​ ิจัยเ​ท่านั้น

            2)	ดำ�เนิน​การ​ใน​ทุก​วิถี​ทาง​เพื่อ​ให้​สถาบัน​ครอบครัว​มี​บทบาท หน้าที่​และ​ความ​รับ​ผิด​ชอบ​
ใน​การ​อบรม​เลี้ยง​ดู​เด็ก​และ​เยาวชน​ให้​เป็น​พลเมือง​ดี มี​คุณภาพ​และ​คุณสมบัติ​เหมาะ​สม​กับ​วัฒนธรรม​และ​
เอกลักษณ์​ของ​สังคมไ​ ทย

       สำ�หรับ​การ​จัด​สถาน​ศึกษา​ระดับ​ก่อน​ประถม​ศึกษา อาจ​จัด​เป็นการ​ศึกษา​ใน​ระบบ​โรงเรียน​หรือ​
การศ​ ึกษาน​ อกโ​รงเรียน โดยอ​ าจจ​ ัดเ​ป็นส​ ถานร​ ับเ​ลี้ยงด​ ูเ​ด็กห​ รือศ​ ูนย์เ​ด็กป​ ฐมวัย และใ​นบ​ างก​ รณีอ​ าจจ​ ัดเ​ป็น​
ชั้น​เด็ก​เล็ก​หรือโ​รงเรียนอ​ นุบาลก​ ็ได้

       แผนการศ​ กึ ษาแ​ หง่ ช​ าติ พ.ศ. 2535 ไดจ​้ ดั ใ​หม​้ กี​ ารศ​ ึกษาร​ ะดบั ป​ ฐมวยั ใ​นร​ ปู ข​ องช​ ั้นเ​ดก็ เ​ลก็ ชั้นอ​ นบุ าล​
ศึกษา หรือ​ใน​รูป​ของ​ศูนย์​พัฒนา​เด็ก​ประเภท​ต่างๆ ทั้งนี้​ขึ้น​อยู่​กับ​สภาพ​ของ​แต่ละ​พื้นที่​และ​กลุ่ม​เป้า​หมาย
ระบบ​การ​ศึกษาใ​น​แผนการ​ศึกษา​ฉบับ​นี้ กล่าวถ​ ึงก​ าร​ศึกษาป​ ฐมวัย​ไว้ 3 ประการ ดังนี้
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67