Page 65 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 65

วิวัฒนาการ​ของ​การ​ปฐมวัย​ศึกษา 1-55

จิตใจ สติป​ ัญญา ความ​รู้​และ​คุณธรรม เป็นผ​ ู้​มีจ​ ริยธรรมแ​ ละว​ ัฒนธรรม​ใน​การด​ ำ�รง​ชีวิต สามารถอ​ ยู่​ร่วมก​ ับ​
ผู้​อื่น​ได้​อย่าง​มีค​ วามส​ ุข

       สาระใ​น​พระร​ าชบ​ ัญญัติ​การศ​ ึกษา​แห่งช​ าติ พ.ศ. 2542 และ​ที่​แก้ไขเ​พิ่ม​เติม (ฉบับ​ที่ 2) พ.ศ. 2545
มีห​ ลายม​ าตรา​ที่​เกี่ยวข้อง​กับก​ าร​พัฒนา​เด็กป​ ฐมวัย ได้แก่

       มาตรา 13 (1) บดิ า มารดา หรอื ผ​ ูป้​ กครองม​ สี​ ิทธไิ​ดร​้ บั ส​ ทิ ธปิ​ ระโยชน์ การส​ นับสนนุ จ​ ากร​ ัฐใ​หม้​ คี​ วามร​ ู​้
ความส​ ามารถใ​น​การอ​ บรม​เลี้ยงด​ ู และก​ าร​ให้การ​ศึกษาแ​ ก่บ​ ุตรห​ รือบ​ ุคคล​ซึ่งอ​ ยู่​ใน​ความด​ ูแล

       มาตรา 14 (1) บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กร​เอกชน องค์กร​วิชาชีพ สถาบัน​ศาสนา สถาน​-
ประกอบ​การ และ​สถาบัน​สังคม​อื่น ซึ่ง​สนับสนุน​หรือ​จัดการ​ศึกษา​ขั้น​พื้น​ฐาน มี​สิทธิ​ได้​รับ​สิทธิ​ประโยชน์​
การ​สนับสนุนจ​ าก​รัฐใ​ห้ม​ ีค​ วาม​รู้ค​ วาม​สามารถ​ในก​ าร​อบรมเ​ลี้ยงด​ ู​บุคคล​ซึ่ง​อยู่​ในค​ วาม​ดูแลร​ ับผ​ ิด​ชอบ

       มาตรา 18 และ 18 (1) การจ​ ัดการศ​ ึกษาป​ ฐมวัยแ​ ละก​ ารจ​ ัดการศ​ ึกษาข​ ั้นพ​ ื้นฐ​ านใ​หจ้​ ัดใ​นส​ ถานศ​ ึกษา
ดัง​ต่อ​ไป​นี้ ได้แก่ ศูนย์​เด็ก​เล็ก ศูนย์​พัฒนา​เด็ก​เล็ก ศูนย์​พัฒนา​เด็ก​ก่อน​เกณฑ์​ของ​สถาบัน​ศาสนา ศูนย์​
บริการ​ช่วย​เหลือ​ระยะ​แรก​เริ่ม​ของเ​ด็กพ​ ิการ​และ​เด็กซ​ ึ่งม​ ีค​ วาม​ต้องการ​พิเศษห​ รือส​ ถานพ​ ัฒนาเ​ด็กป​ ฐมวัย​ที​่
เรียก​ชื่ออ​ ย่าง​อื่น

       มาตรา 47 ให้ม​ ีร​ ะบบ​การป​ ระกัน​คุณภาพก​ ารศ​ ึกษาเ​พื่อพ​ ัฒนาค​ ุณภาพแ​ ละ​มาตรฐาน​การ​ศึกษาท​ ุก​
ระดับ ประกอบ​ด้วย​ระบบ​การ​ประกัน​คุณภาพ​ภายใน และร​ ะบบ​การ​ประกันค​ ุณภาพภ​ ายนอก

       จาก​มาตรา​ต่างๆ ตามพ​ระ​ราช​บัญญัติ​การ​ศึกษา​แห่ง​ชาติ พ.ศ. 2542 ดัง​กล่าว สรุป​ว่า การ​ศึกษา​
ปฐมวัย​จัด​ได้​ทั้ง 3 รูป​แบบ คือ การ​ศึกษา​ในร​ ะบบ การศ​ ึกษา​นอกร​ ะบบ และ​การศ​ ึกษาต​ าม​อัธยาศัย สามารถ​
จัด​ได้​ใน​สถาน​ศึกษา​เช่น​เดียว​กับ​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้น​ฐาน ซึ่ง​ต้อง​มี​ระบบ​การ​ประกัน​คุณภาพ​การ​ศึกษา​ภายใน
เพื่อ​นำ�​ไป​สู่​การ​พัฒนา​คุณภาพ​และ​มาตรฐาน​การ​ศึกษา นอกจาก​นี้​ให้​ทุก​ภาค​ส่วน​ของ​สังคม มี​ส่วน​ร่วม​ใน​
การ​จัดการ​ศึกษา​ปฐมวัย และ​พ่อ​แม่ ผู้​ปกครอง บุคคล​และ​สถาบัน​สังคม​ต่างๆ มี​สิทธิ​ที่​จะ​ได้​รับ​ความ​รู้​ใน​
การ​อบรมเ​ลี้ยงด​ ูเ​ด็ก​อย่าง​ถูกต​ ้อง​อีก​ด้วย

       2) แผน​พฒั นา​เศรษฐกจิ ​และ​สงั คมแ​ ห่งช​ าติ ฉบบั ท​ ี่ 10 (พ.ศ. 2550-2554)
       แผนพ​ ัฒนา​เศรษฐกิจ​และ​สังคมแ​ ห่ง​ชาติ ฉบับ​ที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) มุ่ง​พัฒนาส​ ู่ “สังคมอ​ ยู่เย็น​
เป็นสุข​ร่วมก​ ัน (Green and Happiness Society)” ภาย​ใต้​แนว​ปฏิบัติ​ของ “ปรัชญา​เศรษฐกิจพ​ อเ​พียง”
ได้ก​ ำ�หนดย​ ุทธศาสตร์ก​ ารพ​ ัฒนาป​ ระเทศ ข้อ 5.1 ยุทธศาสตร์ก​ ารพ​ ัฒนาค​ นแ​ ละส​ ังคมส​ ู่ส​ ังคมแ​ ห่งภ​ ูมิปัญญา​
และก​ าร​เรียนร​ ู้ ข้อ (1) การพ​ ัฒนา​คนใ​ห้​มีค​ ุณธรรม​นำ�​ความร​ ู้ เกิด​ภูมิคุ้มกัน โดย​พัฒนาจ​ ิตใจ ควบคู่ก​ ับก​ าร​
พัฒนาการ​เรียน​รู้ข​ องค​ นท​ ุก​กลุ่มท​ ุกว​ ัย​ตลอดช​ ีวิต เริ่ม​ตั้งแต่​วัย​เด็ก​ให้​มีค​ วาม​รู้​พื้น​ฐานเ​ข้ม​แข็ง มี​ทักษะ​ชีวิต
       3)	 แผนการ​ศึกษาแ​ ห่งช​ าติ (พ.ศ. 2545-2559)
       แผนการศ​ ึกษาแ​ ห่งช​ าติ (พ.ศ. 2545-2559) ได้ก​ ำ�หนดไ​วใ้​นว​ ัตถุประสงคข์​ ้อ 1 ในก​ ารพ​ ัฒนาค​ นอ​ ย่าง​
รอบด​ ้าน​และ​สมดุล เพื่อ​เป็นฐ​ าน​หลัก​ของก​ าร​พัฒนา โดยม​ ีแ​ นว​นโยบายเ​พื่อ​ดำ�เนินก​ ารข​ ้อ 1 คือ การ​พัฒนา​
ทุก​คน​ตั้งแต่​แรก​เกิด​จน​ตลอด​ชีวิต​ให้​มี​โอกาส​เข้า​ถึง​การ​เรียน​รู้​ได้ ตั้ง​เป้า​หมาย​ให้​เด็ก​ปฐมวัย​อายุ 0-5 ปี
ทุก​คน​ได้​รับ​การ​พัฒนา​และ​เตรียม​ความ​พร้อม​ทุก​ด้าน​ก่อน​เข้า​สู่​ระบบ​การ​ศึกษา พร้อม​ทั้ง​ได้​วาง​กรอบ​การ​
ดำ�เนินง​ านการพ​ ัฒนาแ​ ละเ​ตรียม​ความ​พร้อมเ​ด็ก​ปฐมวัยไ​ว้​ดังนี้
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70