Page 67 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 67

วิวัฒนาการข​ องก​ ารป​ ฐมวัย​ศึกษา 1-57

            4.3)		 องค์การ​ยูนิเซฟ​และ​หน่วย​งาน​ที่​เกี่ยว​กับ​เด็ก​ทั่ว​โลก​ได้​เน้น​ความ​สำ�คัญ​ของ​การ​พัฒนา​
เด็ก​ปฐมวัย (Early Childhood Development) เป็นพ​ ิเศษ ให้ม​ ี​การ​พัฒนา​ทาง​ร่างกาย สติ​ปัญญา อารมณ์
สังคม และ​จริยธรรม ที่​มี​ลักษณะ​เฉพาะ​และ​ละเอียด​อ่อน มีน​โย​บาย​เรื่อง​โลก​ที่​เหมาะ​สม​สำ�หรับ​เด็ก
(A World Fit for Children) ซึ่ง​ให้​ความ​สำ�คัญ​กับ​กลุ่ม​เด็ก​ที่​ยัง​ไม่​ได้​เข้า​เรียน​ชั้น​ประถม​ศึกษา​ปี​ที่ 1
พร้อมท​ ั้งม​ ีก​ ารร​ ณรงค์ท​ ั่ว​โลก​ให้ค​ วามส​ ำ�คัญ​แก่​เด็กว​ ัยน​ ี้

            4.4)		 กระทรวง​ศึกษาธิการ ได้​ประกาศ​อย่าง​เป็น​ทางการ เมื่อ​วัน​ที่ 6 พฤศจิกายน 2548
กำ�หนด​ประเด็น​เร่ง​ด่วน​ใน​การ​ปฏิรูป​การ​ศึกษา​ไว้ 6 เรื่อง โดย​เรียง​ลำ�ดับ​ความ​สำ�คัญ​ของ​การ​พัฒนา​เด็ก​
ปฐมวัยเ​ป็น​ลำ�ดับแ​ รก เพื่อ​ให้ม​ ีก​ ารพ​ ัฒนา​เด็กว​ ัยน​ ี้อ​ ย่าง​เป็นร​ ูปธ​ รรม ชัดเจน เป็น​รากฐานท​ ี่​ดี​ในก​ าร​พัฒนา​
ต่อ​ไป

2.	 การด​ �ำ เนินง​ าน​เพ่ือพ​ ฒั นาเ​ด็ก​ปฐมวัย​ของ​หนว่ ย​งาน​ทเ่ี​กี่ยวข้อง

       จาก​นโยบาย​และ​แผน​พัฒนา​เด็ก​ปฐมวัย​ดัง​กล่าว หน่วย​งาน​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​พัฒนา​เด็ก​และ​การ​
จัดการป​ ฐมวัย​ศึกษาไ​ด้ม​ ี​การ​ดำ�เนินก​ าร​โครงการ​และ​กิจกรรมต​ ่างๆ ที่เ​กี่ยวข้องก​ ับเ​ด็ก​อย่างต​ ่อ​เนื่อง ตั้งแต​่
ก่อน​และ​หลัง​การ​ประกาศ​ใช้​พระ​ราช​บัญญัติ​การ​ศึกษา​แห่ง​ชาติ พุทธศักราช 2542 เพื่อ​ให้การ​พัฒนา​เด็ก​
ปฐมวัยเ​ป็นไ​ปอ​ ย่างต​ ่อเ​นื่องแ​ ละม​ ีค​ ุณภาพ ตัวอย่างก​ ารด​ ำ�เนินก​ ารท​ ี่ส​ ำ�คัญข​ องห​ น่วยง​ านท​ ี่เ​กี่ยวข้อง​สามารถ​
สรุปไ​ด้ (สำ�นักงานเ​ลขาธิการ​สภา​การ​ศึกษา 2551: 20-23) ดังนี้

       1)	 กระทรวง​สาธารณสุข​ได้​จัด​ทำ�​โครงการ​โรงเรียน​พ่อ​แม่ เพื่อ​ส่ง​เสริม​และ​พัฒนา​รูป​แบบ​การ
ส​ ่งเ​สริมป​ ้องกัน​แก่เ​ด็กแ​ ละค​ รอบครัว การเต​รีย​ มต​ ัว​สำ�หรับพ​ ่อ​แม่ใ​น​คลินิกฝ​ าก​ครรภ์แ​ ละค​ ลินิกเ​ด็ก​ดี ของ​
สถานบ​ ริการส​ าธารณสุข

       2)	 กรมก​ าร​ศึกษาน​ อก​โรงเรียน กระทรวงศ​ ึกษาธิการ ได้​จัดท​ ำ�​โครงการ​อบรมผ​ ู้ด​ ูแลเ​ด็ก ด้วย​การ​
ศึกษา​ทาง​ไกล​เพื่อ​พัฒนา​ผู้​เลี้ยง​ดู​เด็ก​ให้​มี​ความ​รู้​พื้น​ฐาน​ใน​การ​เลี้ยง​ดู​เด็ก​อย่าง​ถูก​ต้อง และ​ผู้​เลี้ยง​ดู​เด็ก​
สามารถพ​ ัฒนา​ตนเองด​ ้วย​วิธี​การ​เรียน​ทางไ​กล

       3)	 สำ�นักงาน​เลขาธิการ​สภา​การ​ศึกษา ได้​ทำ�การ​วิจัย​และ​พัฒนา​โครงการ​ส่ง​เสริม​นิสัย​รัก​การ​อ่าน​
ในเ​ด็ก 2-3 ปี เพื่อ​เป็นต้นแ​ บบ​ในก​ ารข​ ยาย​ผลแ​ ละ​พัฒนา ซึ่ง​เป็นน​ โยบายก​ ารส​ ่งเ​สริมน​ ิสัย​รักก​ ารอ​ ่าน​ในเ​ด็ก
2-3 ปี โดยผ​ ่านค​ รอบครัวแ​ ละส​ ถานร​ ับเ​ลี้ยงเ​ด็ก

       4)	 สำ�นักงาน​คณะ​กรรมการ​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้น​ฐาน​จัด​ทำ�​แนวทาง​การ​จัดการ​เรียน​รู้​ที่​สอดคล้อง​กับ​
สมองข​ องเ​ด็กป​ ฐมวัย (Brain-based learning) เพื่อส​ ร้างค​ วามร​ ู้​ความ​เข้าใจใ​ห้ก​ ับ​ผู้​บริหาร ศึกษานิเทศก์
ครู และ​พ่อ​แม่ ผู้​ปกครอง ใช้​เป็น​แนวทาง​ใน​การ​จัด​กิจกรรม​การ​เรียน​รู้ หรือ​จัด​ประสบการณ์​การ​เรียน​รู้​ที่​
สอดคล้อง​กับ​สมอง​ของเ​ด็กป​ ฐมวัย

       5)	 กระทรวงส​ าธารณสุข โดยก​ รมส​ ุขภาพจ​ ิต ไดจ้​ ัดท​ ำ�​คู่มือเ​สริมส​ ร้างไ​อค​ ิวแ​ ละอ​ คี​ ิวเ​ด็ก สำ�หรับค​ ร​ู
พี่เ​ลี้ยง ศูนย์พ​ ัฒนา​เด็ก​เล็ก ประกอบ​ด้วยค​ ู่มือ​ทั้งหมด 5 เล่ม เพื่อ​ใช้เ​ป็นค​ ู่มือใ​นก​ ารส​ ่งเ​สริมไ​อ​คิว​และอ​ ี​คิว
​เด็ก​สำ�หรับ​พ่อ​แม่ สำ�หรับ​ครู​โรงเรียน​อนุบาล สำ�หรับ​ครู/พี่​เลี้ยง​ศูนย์​พัฒนา​เด็ก​เล็ก สำ�หรับ​ศูนย์​พัฒนา
​เด็กเ​ล็กแ​ ละ​โรงเรียน​อนุบาล และ​คู่มือ​วิทยากร
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72