Page 66 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 66

1-56 หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา

            3.1)		 ส่งเ​สริมแ​ ละส​ นับสนุนก​ ารพ​ ัฒนาแ​ ละก​ ารเตร​ ีย​ มค​ วามพ​ ร้อมข​ องเ​ด็กป​ ฐมวัยใ​นร​ ูปแ​ บบ​
ทีห่​ ลากห​ ลายโ​ดยเ​ฉพาะอ​ ย่างย​ ิ่งก​ ารใ​หค้​ วามร​ ูใ้​นก​ ารเ​ลี้ยงด​ ลู​ ูกแ​ กพ่​ ่อแ​ ม่ ผูป้​ กครอง รวมท​ ั้งผ​ ูท้​ ีเ่​ตรียมต​ ัวเ​ป็น​
พ่อ​แม่

            3.2)		 ส่ง​เสริม​และ​สนับสนุน​การ​ศึกษา​ปฐมวัย​ให้​มี​คุณภาพ​ครอบคลุม​กลุ่ม​เป้า​หมาย เพื่อ​
พัฒนาร​ ากฐานพัฒนาการ​ของท​ ุก​ชีวิต​อย่างเ​หมาะ​สม

       จาก​แผน​พัฒนา​เศรษฐกิจ​และ​สังคม​แห่ง​ชาติ ฉบับ​ที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) และ​จาก​การ​ทบทวน​
ปัญหาข​ องก​ ารจ​ ัดการศ​ ึกษาท​ ีผ่​ ่านม​ า รวมท​ ั้งค​ วามเ​ปลี่ยนแปลงข​ องบ​ ริบทต​ ่างๆ ทีเ่​กิดข​ ึ้นอ​ ย่างร​ วดเร็วภ​ ายใ​ต​้
กระ​แส​โลกา​ภิว​ ัต​น์​ที่​มีอ​ ิทธิพล​ต่อ​การ​จัดการ​ศึกษา​ของ​ประเทศ ได้​นำ�​มา​สู่ก​ าร​จัด​ทำ�​กรอบ​ทิศทาง​การ​พัฒนา
การ​ศึกษา​ตาม​แผนการ​ศึกษา​แห่ง​ชาติ (พ.ศ. 2545-2549) ใน​ช่วง​แผน​พัฒนา​เศรษฐกิจ​และ​สังคม​แห่ง​ชาติ
ฉบับ​ที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) กำ�หนด​กรอบ​ยุทธศาสตร์​และ​การ​ดำ�เนิน​งาน​ยุทธศาสตร์​ที่ 1 การ​พัฒนา
การศ​ กึ ษาป​ ฐมวยั ไดก​้ �ำ หนดเ​ปา้ ห​ มายไ​วภ​้ ายในป​ ี 2554 เดก็ ป​ ฐมวยั ท​ กุ ค​ นไ​ดร​้ บั ก​ ารพ​ ฒั นาอ​ ยา่ งถ​ กู ต​ อ้ ง เตบิ โต​
ตาม​วัย​อย่าง​เหมาะ​สม และ​มีค​ วาม​พร้อม​ที่​จะ​เรียน​รู้ใ​น​ระดับ​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้น​ฐาน​ต่อ​ไป ประชากร​กลุ่ม​อายุ
3-5 ปี ได้​รับก​ าร​ศึกษา​ระดับก​ ่อน​ประถม​ศึกษา ร้อยล​ ะ 100

       4)	 นโยบายแ​ ละแ​ ผนพ​ ัฒนาเ​ด็ก​ตา่ งๆ
            4.1)		 ประเทศไทย​มี​แผนการ​พัฒนา​เด็ก​มา​ตั้งแต่ พ.ศ. 2522 โดย​ได้​จัด​ทำ�​แผน​พัฒนา​เด็ก​

ระยะย​ าวแ​ ละแ​ ผนพ​ ฒั นาเ​ยาวชนร​ ะยะย​ าว พ.ศ. 2522-2542 นอกจาก​นใี​้ นป​ ี พ.ศ. 2535 ไดจ​้ ดั ท​ �ำ ​แนวน​ โยบาย​
การ​พัฒนา​เด็ก​โดย​ใช้​สภาวะ​ความ​ต้องการ​พื้น​ฐาน​และ​บริการ​สำ�หรับ​เด็ก (สพด.) และ​อดีต​นายก​รัฐมนตรี
นาย​อานันท์ ปัน​ยาร​ชุน ได้​ตั้ง​คณะ​กรรมการพ​ ัฒนาการ​ศึกษา​อบรม​และ​เลี้ยง​ดู​เด็ก​ขึ้น เพื่อ​ศึกษา​วิเคราะห์​
ปัญหาแ​ ละ​จัด​ทำ�​ข้อเ​สนอแ​ นะเ​กี่ยว​กับก​ ารใ​ห้การ​ศึกษาอ​ บรม​และ​เลี้ยงด​ ูเ​ด็ก​ตั้งแต่​แรกเ​กิด​จนถึงอ​ ายุ 12 ปี

            สาระท​ ั้งหมดม​ ี​ประโยชน์​และก​ ระตุ้นใ​ห้​เกิดค​ วามต​ ระหนักถ​ ึงค​ วามส​ ำ�คัญ​ของก​ ารพ​ ัฒนา​เด็ก
แตก​่ ารน�ำ ​ไปส​ กู​่ ารป​ ฏบิ ตั ย​ิ งั ด​ �ำ เนนิ ก​ ารไ​มค​่ รบถ​ ว้ นต​ ามน​ โยบาย เนือ่ งจากข​ าดค​ วามต​ อ่ เ​นือ่ งข​ องก​ ารด​ �ำ เนนิ ง​ าน

            4.2)		 ปฏิญญา​โลก​ว่า​ด้วย​การ​ศึกษา​เพื่อ​ปวง​ชน (Education for All) ได้​กำ�หนด​กรอบ
เ​ป้าห​ มายก​ ารด​ ำ�เนินก​ ารไ​ว้ 6 ด้าน ด้านท​ ี่ห​ นึ่งค​ ือ ขยายก​ ารด​ ูแลเ​ด็กป​ ฐมวัยแ​ ละก​ ิจกรรมเ​พื่อก​ ารพ​ ัฒนาอ​ ื่นๆ
โดย​เฉพาะก​ ลุ่มเ​ด็ก​ด้อยโ​อกาสแ​ ละก​ ลุ่ม​เด็กพ​ ิการ

            ต่อ​มา ประเทศไทย​ได้​จัด​ทำ�​แผนการ​จัดการ​ศึกษา​เพื่อ​ปวง​ชน (พ.ศ. 2545-2559) กำ�หนด​
แนว​นโยบาย​ใน​การ​ให้การ​อบรม​เลี้ยง​ดู​และ​การ​พัฒนา​เด็ก​อายุ 0-5 ปี อย่าง​รอบ​ด้าน กำ�หนด​เป้า​หมาย
​การ​ดำ�เนิน​งาน​ไว้​ว่า ใน​ปี 2549 เด็ก​อายุ​ตํ่า​กว่า 3 ปี ต้อง​ได้​รับ​การ​อบรม​เลี้ยง​ดู​และ​มี​พัฒนาการ​ทุก​ด้าน​ที่​
เหมาะส​ ม​ตามว​ ัยเ​พิ่ม​มาก​ขึ้น และเ​ด็กอ​ ายุ 3-5 ปี ทุก​คนต​ ้อง​ได้​รับ​การพ​ ัฒนาท​ ุก​ด้าน​ก่อนเ​ข้า​เรียน​การศ​ ึกษา​
ภาคบ​ ังคบั นอกจากน​ ยี​้ ังม​ ยี​ ุทธศาสตรใ์​นก​ ารใ​หป้​ ระชาส​ งั คมท​ กุ ร​ ะดบั ม​ สี​ ว่ นร​ ว่ มม​ ากท​ ี่สุด ในก​ ารผ​ ลักด​ นั แ​ ละ​
สร้างค​ วามต​ ระหนักแ​ ก่ส​ ังคมใ​ห้ค​ ำ�นึงถ​ ึงค​ วามส​ ำ�คัญข​ องก​ ารใ​ห้การส​ นับสนุนเ​ด็ก เยาวชน และป​ ระชาชน ให​้
ได้ร​ ับ​การศ​ ึกษาต​ ั้งแต่​แรกเ​กิดจ​ นต​ ลอดช​ ีวิต รูปแ​ บบก​ าร​มี​ส่วนร​ ่วม​มีห​ ลากห​ ลาย ได้แก่ การ​ใช้ก​ ระบวนการ​
กลุ่ม การร​ ะดมค​ วาม​ช่วย​เหลือ และค​ วามร​ ่วม​มือจ​ าก​ชุมชน​ในท​ ุกร​ ะดับ
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71