Page 72 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 72

1-62 หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา

            กลย​ ทุ ธ์​ในก​ ารจ​ ัดก​ ิจ​กรร​ มบ​ รู ณ​าก​ ารว​ ิทยาศาสตร์​ระดับป​ ฐมวัย​ศึกษา
            การ​จัดการ​เรียน​รู้​บูรณ​า​การ​วิทยาศาสตร์​ระดับ​ปฐมวัย​ศึกษา เป็นการ​จัด​กิจกรรม​โดย​นำ�​
กระบวนการ​เรียน​รู้​แบบ​สืบ​เสาะ​หาความ​รู้​เข้า​ไป​บูรณ​า​การ​ใน​กิจกรรม​ประจำ�​วัน นอกจาก​นี้ ครู​อาจ​จัด​มุม​
วิทยาศาสตรไ์​วใ้​นห​ อ้ งเรียน โดยก​ ารจ​ ดั ว​ างส​ ื่อก​ ารเ​รียนร​ แู​้ ละอ​ ุปกรณต์​ ่างๆ ไวใ้​หเ​้ ด็กเ​ข้าไปเ​ลน่ และห​ าความร​ ู​้
เพิ่มเ​ติม​ด้วยต​ นเอง​ตาม​ความส​ นใจอ​ ย่าง​อิสระ
            การ​ประเมนิ ​ผล​การ​เรียนร​ ​ู้วทิ ยาศาสตร์ส​ �ำ หรับเ​ด็ก​ปฐมวัย
            การว​ ัดแ​ ละป​ ระเมินผ​ ลก​ ารเ​รียนร​ ู้ว​ ิทยาศาสตร์​สำ�หรับเ​ด็กป​ ฐมวัย ควรท​ ำ�​อย่างต​ ่อเ​นื่องค​ วบคู​่
ไปก​ ับก​ ระบวนการ​เรียนก​ ารส​ อน โดย​กำ�หนดจ​ ุดป​ ระสงค์ข​ องก​ ารป​ ระเมินใ​ห้ช​ ัดเจน กำ�หนด​วิธีแ​ ละเ​ครื่องม​ ือ
​ใน​การ​วัดผล​ที่​สอดคล้อง​กับ​จุด​ประสงค์​ของ​การ​ประเมิน ซึ่ง​สามารถ​ทำ�ได้​ด้วย​วิธี​การ​ที่​หลาก​หลาย เช่น
การ​สังเกต การ​สัมภาษณ์ การ​บันทึก​พฤติกรรม​การ​เรียน​รู้ และ​การ​แสดงออก​ขณะ​ทำ�​กิจกรรม​การ​เรียน​รู้​
ทาง​วิทยาศาสตร์​ของ​เด็ก และ​การ​รวบรวม​แฟ้ม​ผล​งาน​ของ​เด็ก การ​วัด​และ​ประเมิน​ผล​ต้อง​ครอบคลุม​การ​
ประเมิน​ทั้ง​ด้าน​ความ​รู้ กระบวนการ​เรียน​รู้ และ​เจตคติ ที่​สอดคล้อง​กับ​ตัว​ชี้​วัด​และ​สาระ​ที่​ควร​เรียน​รู้​ตาม​
กรอบ​มาตรฐานก​ ารเ​รียนร​ ู้ว​ ิทยาศาสตร์ป​ ฐมวัย
            2.2 โครงการ​พฒั นากร​อบม​ าตรฐาน และ​คมู่ อื ​การ​จัดการ​เรยี นร​ ู้ค​ ณติ ศาสตร​ป์ ฐมวัย​ศึกษา ซึ่ง​
ได้​พัฒนา​ให้​สอดคล้อง​กับ​คณิตศาสตร์​ใน​หลักสูตร​การ​ศึกษา​ปฐมวัย พุทธศักราช 2546 และ​หลักสูตร​การ​
ศึกษา​ขั้น​พื้น​ฐาน พุทธศักราช 2551 โดยม​ ี​สาระ​สังเขป​โดยส​ รุป (สถาบันส​ ่ง​เสริม​การ​สอนว​ ิทยาศาสตร์แ​ ละ​
เทคโนโลยี ม.ป.ป.) ดังนี้
            เด็กป​ ฐมวัย เป็น​วัยเ​ริ่มต​ ้นแ​ ห่งก​ ารเ​รียนร​ ู้ มีค​ วามอ​ ยาก​รู้อ​ ยากเ​ห็น ช่าง​สังเกต ชอบส​ ำ�รวจ​สิ่ง​
ต่างๆ รอบ​ตัว คณิตศาสตร์​สามารถ​พัฒนา​และเ​สริม​สร้าง​ให้​เด็ก​รู้เ​ข้าใจ​ธรรมชาติ​และส​ ิ่งต​ ่างๆ รอบ​ตัว การ​ที​่
เด็ก​มี​ความ​รู้ ความ​เข้าใจ มี​ทักษะ​และ​กระบวนการ​ทาง​คณิตศาสตร์ มี​เจตคติ​ที่​ดี​ต่อ​คณิตศาสตร์ ไม่​เพียง​
ส่ง​ผล​ให้​เด็ก​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ​ใน​การ​เรียน​รู้​ทาง​คณิตศาสตร์​เท่านั้น แต่​จะ​ส่ง​ผล​ต่อ​การ​เรียน​รู้​ใน​ศาสตร์​
อื่นๆ คณิตศาสตร์​จึงม​ ี​บทบาท​สำ�คัญ​ทั้ง​ในก​ าร​เรียนร​ ู้ และม​ ี​ประโยชน์ต​ ่อ​การ​ดำ�เนินช​ ีวิต
            เปา้ ​หมาย​ของก​ าร​จัดป​ ระสบการณก​์ ารเ​รียนร​ ู้ค​ ณิตศาสตร์​ปฐมวยั
            1.	มคี​ วามค​ ิดเ​ชิงค​ ณิตศาสตร์ (Mathematical Thinking) มีค​ วามร​ ู้ค​ วามเ​ข้าใจพ​ ื้นฐ​ านแ​ ละ​
มพี​ ัฒนาการด​ ้านค​ วามร​ ู้เ​ชิงจ​ ำ�นวนเ​กี่ยวก​ ับจ​ ำ�นวนนับ 1 ถึง 20 เข้าใจ​การใ​ชจ้​ ำ�นวน บอก​ปริมาณท​ ีไ่​ด้จ​ ากก​ าร​
นับ รู้จักต​ ัวเลขฮ​ ินดู​อาร​ บิก​และ​ตัวเลขไ​ทย รู้​ค่า​ของ​จำ�นวน สามารถเ​ปรียบเ​ทียบ​จำ�นวน เรียง​ลำ�ดับ​จำ�นวน
ตลอดจ​ น​เข้าใจ​เกี่ยวก​ ับก​ ารร​ วม​กลุ่มแ​ ละ​การแ​ ยก​กลุ่ม
            2.	มี​ความ​รู้​ความ​เข้าใจพ​ ื้น​ฐาน​เกี่ยว​กับ​ความยาว นํ้า​หนัก ปริมาตร เงิน และ​เวลา สามารถ​
เปรยี บเ​ทยี บ เรยี งล​ �ำ ดบั และว​ ดั ค​ วามยาว นํา้ ห​ นกั ปรมิ าตร โดยใ​ชเ​้ ครือ่ งม​ อื แ​ ละห​ นว่ ยท​ ไี​่ มใ​่ ชห​้ นว่ ยม​ าตรฐาน
รู้จัก​เงิน​เหรียญแ​ ละ​ธนบัตร เข้าใจ​เกี่ยวก​ ับ​เวลาแ​ ละ​คำ�​ที่ใ​ช้บ​ อก​ช่วง​เวลา
            3.	มี​ความ​รู้​ความ​เข้าใจ​พื้น​ฐาน​ทาง​เรขาคณิต เข้าใจ​เกี่ยว​กับ​ตำ�แหน่ง ทิศทาง​และ​ระยะ​ทาง
รู้จัก​และ​จำ�แนก​รูป​เรขาคณิต​สาม​มิติ​และ​รูป​เรขาคณิต​สอง​มิติ เข้าใจ​การ​เปลี่ยนแปลง​รูป​เรขาคณิต​สอง​มิติ
และ​สามารถใ​ช้​รูปเ​รขาคณิตส​ าม​มิติแ​ ละ​รูป​เรขาคณิต​สองม​ ิติสร้างสรรค์​งานศ​ ิลปะ
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77