Page 75 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 75
วิวัฒนาการข องก ารปฐมวัยศึกษา 1-65
จะไม่มีเวลาจัดหา หรือจัดทำ�ของเล่นให้เด็กเอง แต่จะใช้วิธีซื้อจากร้านค้ามาให้เด็กเล่นเพื่อความสะดวก
เด็กชายและเด็กหญิงมีของเล่นอย่างน้อย 3 ประเภทเกือบเท่ากัน คือ ร้อยละ 30.0 และร้อยละ 32.2
ตามลำ�ดับ เด็กในครัวเรือนนอกเขตเทศบาล ร้อยละ 27.5 มีของเล่นอย่างน้อย 3 ประเภทน้อยกว่าเด็กใน
ครัวเรือนในเขตเทศบาล ร้อยละ 32.5 นอกจากนี้ยังพบว่า เด็กอายุ 24-59 เดือน มีของเล่นอย่างน้อย 3
ประเภท สูงก ว่าเด็กอ ายุ 0-23 เดือน (ร้อยล ะ 37.4 และร ้อยล ะ 21.5 ตามล ำ�ดับ) แสดงว ่าพ ่อแ ม่ของเด็กไทย
มักจะจ ัดหาข องเล่นให้เด็กโตม ากกว่าเด็กเล็ก หรือเด็กโตสามารถหาข องเล่นได้เองมากกว่าเด็กเล็ก
3.2 การป ระเมนิ พ ฒั นาการเดก็ ป ฐมวยั หนว่ ยง านท เี่ กีย่ วขอ้ งก บั ก ารพ ฒั นาเดก็ และก ารจ ดั การศ กึ ษา
ปฐมวัย ได้ด ำ�เนินการป ระเมินคุณภาพเด็กอ ย่างต ่อเนื่องต ั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 จนถึงป ัจจุบัน สามารถส รุปได้
ดังนี้
1) ส�ำ นกั ส ง่ เสรมิ สขุ ภ าพ กรมอ นามยั รว่ มก บั ส ถาบนั แ หง่ ช าตเิ พือ่ ก ารพ ฒั นาเดก็ แ ละค รอบครวั
มหาวิทยาลัยมหิดล (2542 อ้างถ ึงในส ำ�นักงานเลขาธิการส ภาการศึกษา 2551: 29) ได้สำ�รวจส ภาวะส ุขภาพ
พัฒนาการและการเจริญเติบโตเด็กป ฐมวัยอ ายุ 1 ปี และ 4 ปี จำ�นวน 3,096 คน ใน 4 ภาค 9 จังหวัด โดย
ใช้แ บบทดสอบพัฒนาการเดนเวอร์ 2 พบว ่า พัฒนาการร วมทุกด้านข องเด็กปฐมวัยปกติ (Normal) ร้อยล ะ
71.69 ส่วนอ ีกร้อยล ะ 28.31 สงสัยล ่าช้า (Suspect)
2) ลัดดา เหมาะสุวรรณ และค ณะ (2544 อ้างถ ึงในสำ�นักงานเลขาธิการสภาก ารศึกษา 2551:
9) ได้ดำ�เนินโครงการว ิจัยพัฒนาการแบบองค์ร วมของเด็กไทยใน 4 ภาค 16 จังหวัด และกรุงเทพมหานคร
โดยท ำ�การศ ึกษากับเด็กอายุ 12-35 เดือน จำ�นวน 1,571 คน ประเมินโดยใช้แ บบทดสอบพัฒนาการ พบว่า
เด็กม ีพ ัฒนาการส มวัยร ้อยละ 79.3 ค่อนข ้างช ้าแ ละช้าร วมก ันร้อยล ะ 20.6
3) กลุม่ อ นามยั แ มแ่ ละเดก็ สำ�นกั ส ่งเสรมิ สุขภ าพ กรมอ นามยั (2546 อ้างถ งึ ในกรมส ขุ ภาพจ ติ
2549) ได้สำ�รวจสถานการณ์พัฒนาการเด็กปฐมวัยในเด็กอายุ 15-18 เดือน จำ�นวน 3,289 คน และเด็ก
อายุ 48-58 เดือน จำ�นวน 3,676 คน โดยส ุ่มจ ากเด็กท ี่ร ับบ ริการในค ลินิกเด็กด ี จากส ถานบ ริการส าธารณสุข
ของร ัฐและเอกชน ในพื้นที่ 75 จังหวัด ยกเว้นก รุงเทพมหานคร ใช้แบบประเมินพัฒนาการซึ่งจ ัดท ำ�ขึ้นโดย
เทียบเคียงกับแบบประเมินเดนเวอร์ 2 พบว่า กลุ่มอ ายุ 15-16 เดือน มีพ ัฒนาการสมวัยร้อยล ะ 71.7 กลุ่ม
อายุ 19-24 เดือน และ 48-54 เดือน มีพัฒนาการส มวัยร้อยละ 86.7 และ 81.1 ตามลำ�ดับ โดยพ ัฒนาการ
ของเด็กปฐมวัยทุกกลุ่มอายุมีพัฒนาการสมวัยรวมทุกด้าน ร้อยละ 79.9 ซึ่งใกล้เคียงกับเป้าหมายในแผน
พัฒนาการสาธารณสุขฉบับท ี่ 9 ที่ก ำ�หนดให้เด็กป ฐมวัยม ีพัฒนาการส มวัย ร้อยล ะ 80
4) สำ�นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำ�นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศ กึ ษาธกิ าร (2547) ไดร้ ายงานผ ลก ารป ระเมนิ พ ฒั นาการข องน กั เรยี นท จี่ บห ลกั สตู รก ารศ กึ ษาป ฐมวยั
พุทธศักราช 2546 ปีการศึกษา 2547 สังกัดกระทรวงศึกษาธิการในสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา 175 เขต
เขตล ะ 12 โรงเรียน โรงเรียนล ะ 6 คน รวมท ั้งส ิ้น 12,600 คน โดยแ บ่งเป็น