Page 74 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 74
1-64 หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
3. การต ดิ ตามแ ละป ระเมนิ ผลก ารจดั การเรียนร รู้ ะดับป ฐมวยั
การติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ระดับปฐมวัย จะมีการดำ�เนินการเป็นระยะๆ เพื่อให้
ทราบส ถานภาพก ารด ำ�เนินง านการจัดการเรียนร ู้ส ำ�หรับเด็ก และป ัญหาอ ุปสรรค เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบ
การพัฒนาการจัดการศึกษาสำ�หรับเด็กปฐมวัยให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ การประเมินที่ผ่านมามี 2
ลักษณะ คือ การประเมินก ารจัดกิจกรรม การจ ัดหาหนังสือและอ ุปกรณ์การเรียนท ี่ส ่งเสริมการเรียนร ู้ให้แ ก่
เด็กปฐมวัยที่บ้าน และการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย ซึ่งมีรายละเอียดการประเมินเพื่อติดตามผลใน
แต่ละลักษณะ ดังต ่อไปนี้
3.1 การประเมินการจัดกิจกรรม การจัดหาหนังสือ และอุปกรณ์การเรียนท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ให้
แก่เด็กปฐมวัยท บ่ี า้ น ผลก ารส ำ�รวจโครงการสำ�รวจส ถานการณ์เด็กในป ระเทศไทย ปี 2548-2549 ซึ่งส ำ�รวจ
เกี่ยวกับกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เด็กปฐมวัย มีการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมที่ส่งเสริมการ
เรียนรู้และเตรียมต ัวก ่อนที่จะเข้าโรงเรียนของเด็กอ ายุตํ่ากว่า 5 ปี โดยเน้นก ารเรียนร ู้ร่วมกันร ะหว่างผ ู้ใหญ่
กับเด็กในกิจกรรมต่างๆ เช่น การอ่านห นังสือร่วมก ับเด็ก การเล่านิทานให้เด็กฟ ัง การร ้องเพลงร ่วมก ับเด็ก
การร้องเพลงกล่อมเด็ก การพาเด็กออกนอกบ้าน การเล่นหรือทำ�กิจกรรมร่วมกับเด็ก ฯลฯ ผลการสำ�รวจ
(สำ�นักงานเลขาธิการส ภาการศึกษา 2551: 25-28) พบว่า
1) เด็กร ้อยล ะ 78.6 ไดร้ บั ก ารส นบั สนนุ แ ละด แู ลจ ากส มาชกิ ในค รวั เรอื น เพือ่ เขา้ ร ่วมก ิจกรรม
ที่ส่งเสริมการเรียนรู้และก ารเตร ียมต ัวก ่อนเข้าเรียนอ ย่างน้อย 4 กิจกรรม
2) ค่าเฉลี่ยข องจ ำ�นวนก ิจกรรมท ีส่ มาชิกในค รัวเรือนม สี ่วนร ่วมก ับเด็กป ระมาณ 4.8 กิจกรรม
3) การมีส่วนร่วมทำ�กิจกรรมกับสมาชิกในครัวเรือนของเด็กชายและเด็กหญิงใกล้เคียงกัน
คือ ร้อยล ะ 78.3 และร ้อยล ะ 79.0 ตามลำ�ดับ
4) การมีหนังสือสำ�หรับเด็ก ครัวเรือน ร้อยละ 68.3 ที่มีเด็กอาศัยอยู่ มีหนังสือสำ�หรับเด็ก
อย่างน้อย 3 เล่ม และม ีเด็กร้อยละ 42.6 ของเด็กอายุ 0-59 เดือน อาศัยอยู่ในครัวเรือนท ี่มีห นังสือส ำ�หรับ
เด็กอ ย่างน ้อย 3 เล่มข ึ้นไป โดยเฉลี่ยในแ ต่ละค รัวเรือนท ี่ม ีเด็ก จะม ีห นังสือส ำ�หรับเด็กโดยเฉลี่ยป ระมาณ 2
เล่ม เด็กในค รัวเรือนในเขตเทศบาลจะม หี นังสือส ำ�หรับเด็กม ากกว่าเด็กในค รัวเรือนน อกเขตเทศบาล และยัง
พบว่า อายุของเด็กเกี่ยวข้องกับการมีหนังสือสำ�หรับเด็กด้วย โดยพบว่าครัวเรือนที่มีเด็กอายุ 24-59 เดือน
มีห นังสือส ำ�หรับเด็กม ากกว่าค รัวเรือนท ี่ม ีเด็กอ ายุ 0-23 เดือน
5) ของเลน่ เดก็ การม ขี องเลน่ เด็กเปน็ ส ิ่งส �ำ คญั ในก ารกร ะต ุน้ การเรียนร ูข้ องเดก็ ในก ารส �ำ รวจ
สถานการณ์เด็กไทย ที่ได้แ บ่งข องเล่นอ อกเป็น 4 ประเภท คือ 1) ของเล่นท ี่เป็นส ิ่งของเครื่องใช้ในครัวเรือน
เช่น จาน ถ้วย หม้อ ฯลฯ 2) ของเล่นท ี่เป็นสิ่งของน อกบ ้าน เช่น กิ่งไม้ หิน สัตว์ เปลือกหอย ใบไม้ ซึ่งไม่ต ้อง
ซื้อห า 3) ของเล่นท ี่ท ำ�ขึ้นเองให้แ กเ่ด็ก เช่น ตุ๊กตา รถ ฯลฯ และ 4) ของเล่นท ีซ่ ื้อห าม าห รือไดม้ าจ ากน อกบ ้าน
ผลการสำ�รวจพบว ่า ร้อยละ 31.1 ของกลุ่มเด็กอ ายุ 0-59 เดือน มีข องเล่นอย่างน ้อย 3 ประเภทให้เล่น ใน
ขณะท ี่ย ังมีเด็กท ี่ไม่มีของเล่นเลย ประมาณร้อยละ 8.4 โดยข องเล่นจ ากร้านค ้าม ีมากท ี่สุด คือ ร้อยล ะ 77.3
ส่วนของเล่นชนิดอื่นๆ มีประมาณร้อยละ 32-39 ทั้งนี้ อาจจะเป็นเพราะสังคมไทยในปัจจุบัน พ่อแม่มัก