Page 40 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 40

1-30 หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา

1.	 ระยะ​ก�ำ เนดิ ​โรงเรียน​อนบุ าล​แห่งแ​ รก

       ผู้​ที่​จัด​ตั้ง​โรงเรียน​อนุบาล​แห่ง​แรก​ใน​ประเทศ​เยอรมนี​คือ เฟ​รอ​เบล (Froebel, 1782–1852) เป็น​
นักการ​ศึกษา​ชาว​เยอรมัน​ที่​ได้​รับ​การ​ยกย่อง​ว่า​เป็น​บิดา​ของ​การ​อนุบาล​ศึกษา เฟ​รอ​เบล​เป็น​ผู้​ให้​กำ�เนิด​
การป​ ฐมวยั ศ​ กึ ษาโ​ดยจ​ ดั ต​ งั้ โ​รงเรยี นอ​ นบุ าลแ​ หง่ แ​ รกช​ อื่ Kindergartenแปลว​ า่ สวนเ​ดก็ ทเ​ี่ มอื งแ​ บลคเ​กนเ​บอรก​์
(Blackenburg) ใน​ปี ค.ศ. 1842 โดย​มี​จุดม​ ุ่งห​ มายเ​พื่อ​อบรมเ​ด็ก​ฝึกหัด​ครู และพ​ ี่เ​ลี้ยงเ​ด็ก​ให้ร​ ู้จักว​ ิธี​สอน​
ที่​ถูก​ต้อง

       เฟ​รอ​เบล​ได้​รับ​แนวคิด​ทางการ​ศึกษา​จา​กรุ​ส​โซ​และ​เปส​ตาลอ​ส​ซี และ​ได้​นำ�​เอา​แนวคิด​เหล่า​นั้น​
มาพ​ ัฒนา​เป็น​แนวคิด​และป​ รัชญาเ​พื่อ​การ​พัฒนา​เด็ก​ใน​โรงเรียน​อนุบาล โดย​เขียนไ​ว้​ใน​หนังสือ Education
of Man, Pedagogies of Kindergarten และห​ นังสือ Education by Development

       เฟ​รอ​เบล​ได้​ให้​แนวคิด​สำ�คัญ​ที่​สามารถ​นำ�​มา​ประยุกต์​ใช้​ใน​การ​จัด​กิจกรรม​การ​เรียน​รู้​ที่​ยึด​ผู้​เรียน​
เป็น​สำ�คัญ ซึ่ง​ยัง​คง​ได้​ใช้​กัน​อยู่​จนถึง​ปัจจุบัน เฟ​รอ​เบล​เชื่อ​ว่า เด็ก​เป็น​บุคคล​ที่​มี​คุณค่า การ​เจริญ​เติบโต​
ของ​เด็ก​เกิด​จาก​การ​ได้​เคลื่อนไหว การ​ออก​กำ�ลัง​ด้วย​การ​ทำ�​กิจกรรม​ต่างๆ เช่น การ​เล่น​เกม การ​ร้อง​เพลง
การฝ​ ึกท​ ำ�งานง​ ่ายๆ เช่น การท​ ำ�​สวน เป็นต้น เฟร​ อเ​บลเ​ชื่อว​ ่า การเ​ล่นเ​ป็นก​ ิจกรรมพ​ ื้นฐ​ านส​ ำ�คัญท​ ี่ช​ ่วยใ​ห้เ​ด็ก​
เกิด​การ​เรียน​รู้ เฟ​รอ​เบล​จึง​สร้าง​อุปกรณ์​การ​สอน​ขึ้น​มา​ใช้​ใน​หลักสูตร​อนุบาล​ศึกษา​ของ​โรงเรียน​ที่​สร้าง​ขึ้น
อุปกรณ์​การ​สอน​ประกอบ​ด้วย​ชุด​ของ​ขวัญ (Gifts) และ​ชุด​อาชีพ (Occupations) เพื่อ​ช่วย​พัฒนาการ
​เรียน​รู้​จาก​การ​สัมผัส ชุด​ของ​ขวัญ​ประกอบ​ด้วย ไหม​พรม ไม้​บล็อก วัสดุ​จาก​ธรรมชาติ รูป​ทรง​เรขาคณิต
ส่วนช​ ุด​อาชีพป​ ระกอบ​ด้วย​กิจกรรมต​ ่างๆ เช่น การต​ ัด การ​พับ การ​ปั้น การเ​ย็บป​ ัก การร​ ้อย​ลูกปัด กิจกรรม​
เหล่าน​ ี้แ​ สดงใ​ห้​เห็นแ​ นว​คิด​ของเ​ฟร​ อ​เบลใ​น​เรื่องข​ องการ​เรียน​การส​ อน​ที่​ควร​เริ่ม​จาก​รูปธ​ รรมส​ ู่​นามธรรม

       เปน็ ท​ นี​่ า่ เ​สยี ดายท​ แี​่ นวคดิ แ​ ละแ​ นวป​ ฏบิ ตั ท​ิ างการอ​ นบุ าลศ​ กึ ษาข​ องเ​ฟร​ อเ​บลไ​มเ​่ ปน็ ท​ นี​่ ยิ มแ​ พรห​่ ลาย​
ใน​ประเทศ​เยอรมนี​ขณะ​นั้น ต่อ​มา​รัฐบาล​เยอรมนี​ได้​สั่ง​ปิด​โรงเรียน​อนุ​บาล​ของ​เฟ​รอ​เบล ด้วย​เหตุผล​ทาง
การ​เมือง​ใน​ปี ค.ศ. 1851 ก่อน​ที่เ​ฟรอเบลจะเ​สีย​ชีวิต 1 ปี

2.	 ระยะเ​ผยแ​ พร่​การ​จดั ​โรงเรียน​อนุบาล​ตามแ​ นวค​ ดิ ข​ องเ​ฟร​ อ​เบล

       หลัง​จาก​เฟ​รอ​เบล​เสีย​ชีวิต​แล้ว แนวคิด​เกี่ยว​กับ​การ​อนุ​บาล​ของ​เฟ​รอ​เบล​ได้​รับ​ความ​นิยม​และ
เ​ผยแ​ พร่​อย่างก​ ว้างข​ วาง​ไปห​ ลาย​ประเทศใ​น​ยุโรป ผู้​ที่​เผยแ​ พร่​แนวคิด​เกี่ยว​กับ​การ​อนุ​บาลข​ อง​เฟร​ อเ​บล คือ
เบอร์​ทา สตรี​ชาว​เยอรมัน​ที่​สนใจ​การ​จัดการ​อนุบาล​ตาม​แนว​คิด​ของ​เฟ​รอ​เบล ต่อ​มา​ได้​ย้าย​ไป​อยู่​ประเทศ​
อังกฤษ และ​ตั้ง​โรงเรียน​อนุบาล​ตาม​แนว​คิด​ของ​เฟ​รอ​เบล​ขึ้น​ที่​นั่น ทำ�ให้​แนว​คิด​ของ​เฟ​รอ​เบล​แพร่​หลาย​ไป​
ใน​หมู่​ชาว​อังกฤษ​เป็นอ​ ย่างม​ าก

       หลัง​จาก​นั้น เบอร์​ทา​ยัง​ได้​นำ�​แนวคิด​เกี่ยว​กับ​การ​อนุ​บาล​ของ​เฟ​รอ​เบล​ไป​เผย​แพร่​ต่อ​ใน​ประเทศ​
ฝรั่งเศส อิตาลี ส​วิตเ​ซอร์​แลนด์ เนเธอร์แลนด์ และ​เบลเยียม
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45