Page 38 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 38

1-28 หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา

       รุสโ​ซ​เชื่อ​ว่าการใ​ห้การ​ศึกษาค​ วร​ใช้ว​ ิธี​การต​ าม​หลักข​ อง​ธรรมชาติ คือ ควรบ​ ำ�รุง​ตัวเ​ด็ก​ให้​มีส​ ุขภาพ​
แข็ง​แรง เพื่อ​จะ​ได้​มี​กำ�ลัง​หาความ​รู้​ได้​เอง​ต่อ​ไป โดย​เน้น​พัฒนาการ​ทาง​กาย​ของ​เด็ก​ตาม​ลำ�ดับ​ขั้น และ​
เห็น​ว่า​ครู​ควร​เข้าใจ​ธรรมชาติ​ของ​เด็ก​แต่ละ​วัย และ​สอน​ให้​สอดคล้อง​กับ​ธรรมชาติ​ของ​เด็ก​แต่ละ​วัย​ด้วย
การ​สอน​เด็ก​ควร​เริ่ม​ด้วย​การ​เร้า​ให้​เด็ก​เกิด​ความ​สนใจ​อยาก​รู้​อยาก​เห็น และ​สนับสนุน​ให้​เด็ก​แสดงออก​
อย่าง​เสรี เพื่อ​เด็ก​จะไ​ด้​มีค​ วามค​ ิดท​ ี่ด​ ีแ​ ละเ​กิดก​ ารเ​รียน​รู้อ​ ย่างถ​ ูก​ต้อง

       เปส​ตาลอ​ส​ซี (Pestalozzi, 1746-1827) เป็น​นักการ​ศึกษา​ชาว​ส​วิส​ที่​สนใจ​การ​ศึกษา​สำ�หรับ​เด็ก​เล็ก​
อย่าง​จริงจัง และ​ได้​นำ�​เอา​แนว​คิด​ใหม่ๆ ทางการ​ศึกษา เช่น แนวคิด​ของ​รุส​โซ รวม​ทั้ง​ของ​ตัว​เขา​เอง
มา​ปรับปรุง​และ​ทดลอง​ใช้​ใน​โรง​เรียน​ใน​ส​วิต​เซอร์​แลนด์ ซึ่ง​เป็น​จุด​เริ่ม​ต้น​ของ​การ​จัด​โรงเรียน​สำ�หรับ​เด็ก​
เล็ก​ในร​ ูปแ​ บบใ​หม่

       เปสต​ าลอส​ ซ​ ไี​มเ​่ ห็นด​ ้วยก​ บั แ​ นวป​ ฏิบัตทิ​ างการศ​ ึกษาส​ ำ�หรบั เ​ดก็ ท​ ีใ่​ชก้​ ันม​ ากใ​นส​ มัยน​ ั้น โดยพ​ ยายาม​
ต่อสู้ และ​ปรับปรุง​แก้ไข​แนว​ปฏิบัติ​เหล่า​นั้น จน​กระทั่ง​ได้​รับ​ความ​สำ�เร็จ​ใน​เวลา​ต่อ​มา แนว​ปฏิบัติ​ทางการ​
ศึกษา 3 ประการ ที่​เปส​ตาลอ​สซ​ ี​ไม่เ​ห็นด​ ้วย คือ

            1.	 การเ​รียน​รู้​แบบ​ท่องจำ�
            2.	การล​ งโทษ​อย่างร​ ุนแรง เมื่อเ​ด็ก​จำ�​บท​เรียนไ​ม่ไ​ด้
            3. 	การ​กีดกัน​เด็ก​ยากจน​ใน​การ​เข้า​โรงเรียน
       เปส​ตาลอ​สซ​ ี​มี​ความเ​ห็น​เช่น​เดียว​กับร​ ุสโ​ซท​ ี่​ว่า การ​ศึกษา​ต้อง​เป็น​ไป​ตามธ​ รรมชาติ เด็ก​แต่ละค​ นม​ ​ี
ความแ​ ตกต​ ่างก​ ันใ​น​ด้าน​ความ​สนใจ ความต​ ้องการ และอ​ ัตรา​การ​เรียน​รู้ เปสต​ าลอส​ ​ซีเ​ป็นผ​ ู้​ริเริ่ม​เรื่องค​ วาม​
พร้อม​ของ​เด็ก ไม่​ควร​บังคับ​เด็ก​ให้​เรียน​ด้วย​การ​ท่องจำ� แต่​ควร​ให้​เวลา​เด็ก​ได้​เรียน​ตาม​ความ​สามารถ​ของ​
แต่ละ​คน เรียน​จาก​ประสบการณ์​ตรง และ​การ​สำ�รวจ​สิ่ง​ต่างๆ ที่​อยู่​รอบ​ตัว เพื่อ​ให้​เด็ก​เกิด​ความ​เข้าใจ​และ​
เรียน​รู้ด​ ้วยต​ นเอง
       ชีวิตส​ ่วนต​ ัวข​ องเ​ปสต​ าลอส​ ซ​ ไี​มค่​ ่อยร​ าบร​ ื่นน​ ัก เขาจ​ ึงเ​ห็นใจเ​พื่อนม​ นุษยแ์​ ละส​ งสารเ​ด็กย​ ากจน และ​
คิด​ว่าการ​สอนค​ น​ให้​มีใ​จเ​มตตา​กรุณา​ต่อ​กัน​มีค​ ่า​มากกว่า​การ​สอนค​ นใ​ห้ม​ ีค​ วาม​รู้ บ้านเ​ป็น​สถาน​ที่​ที่​สามารถ​
สอน​คนใ​ห้ม​ ี​นํ้าใจ และเ​มตตาก​ รุณา เพราะ​การศ​ ึกษา​จากบ​ ้าน​เป็นส​ ิ่ง​สำ�คัญอ​ ย่าง​หนึ่ง บ้าน​เป็นส​ ถานท​ ี่ส​ ำ�คัญ​
ในก​ าร​ให้ค​ วาม​รู้แ​ ละว​ างร​ ากฐาน​ทางการ​ศึกษาใ​ห้แ​ ก่​เด็ก เป็น​ที่อ​ บรมศ​ ีลธ​ รรมจรรยา และเ​ป็นท​ ี่ท​ ี่ใ​ห้​ความส​ ุข​
แก่​เด็ก​ได้เ​ป็น​อย่างด​ ี
       เปส​ตาลอส​ ​ซี ได้​เขียน​หนังสือท​ ี่ใ​ห้แ​ นวคิด​ในก​ ารจ​ ัดการศ​ ึกษาส​ ำ�หรับ​เด็ก​ที่​สำ�คัญ 2 เล่ม คือ
            1.	Leonard and Gertrude
            2.	How Gertrude Teaches Her Children
       Leonard and Gertrude ได้​พิมพ์เ​ผยแ​ พร่ค​ รั้งแ​ รกใ​น​ปี ค.ศ. 1781 เนื้อหาใ​นห​ นังสือเ​ล่มน​ ี้ก​ ล่าวถ​ ึง​
วิธี​การ​สอนข​ องค​ รูท​ ี่ส​ มบูรณ์แ​ บบ (Ideal Teacher) ตามแ​ บบ​ฉบับข​ องเ​ปส​ตาลอส​ ซ​ ี Gertrude คือ​ครู​ที่​ใช้​
วิธี​สอน​โดย​ให้​เด็ก​เรียน​จาก​ประสบการณ์​ตรง จาก​การ​ให้​ทำ�​กิจกรรม​ต่างๆ ด้วย​ตนเอง เช่น ทำ�งาน​บ้าน
ล้าง​จาน ร้อง​เพลง อ่าน​ออก​เสียง​คัมภีร์ไ​บเบิล และ​อ่านอ​ อกเ​สียงห​ นังสือ ABC เป็นต้น ในก​ ารท​ ำ�​กิจกรรม​
ต่างๆ ที่​ครู​จัด​ให้​นั้น เด็ก​จะ​ต้อง​ฝึก​ใช้​การ​สังเกต การ​พิจารณา และ​การ​ใช้​ประสาทส​ ัมผัส หลัง​จาก​นั้น​เด็ก​
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43