Page 39 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา
P. 39

วิวัฒนาการ​ของ​การป​ ฐมวัยศ​ ึกษา 1-29

จะเ​ข้าใจร​ ายล​ ะเอียด และ​สามารถจ​ ัด​แยกเ​ป็นห​ มวดห​ มู่ไ​ด้​ในท​ ี่สุด ดังน​ ั้น​ สิ่ง​ที่​เด็กข​ อง Gertrude ได้​เรียน​รู้
จะเ​ป็นค​ วามร​ ู้​จาก​ประสบการณ์​โดยตรง เรียน​รู้อ​ ย่าง​ทะลุ​ปรุโปร่ง และ​สามารถน​ ำ�​ความร​ ู้​ที่ไ​ด้ร​ ับไ​ป​สอน​เด็ก​
ที่เ​ล็กก​ ว่าไ​ด้

       How Gertrude Teaches Her Children ได้พ​ ิมพ์เ​ผย​แพร่​ใน​ปี ค.ศ. 1801 เนื้อหาใ​น​หนังสือเ​ล่ม​นี้​
กล่าว​ถึง​ชีวิต​ของ​นางเอก​ชื่อ Gertrude ใน​หมู่บ้าน​แห่ง​หนึ่ง Gertrude เป็น​แม่​บ้าน​ที่​มี​ความ​สามารถ​มาก
เช่น เป็น​ครู​สอน​ลูกๆ ทำ�ให้​สามี​ที่​เกียจคร้าน​และ​ชอบ​ดื่ม​สุรา​กลับ​ตัว​เป็น​คน​ดี สอน​เพื่อน​บ้าน​ให้​มี​ความ​รู้
เป็นต้น เปส​ตาลอ​ส​ซี​ให้​ข้อคิด​ที่​สำ�คัญ​ข้อ​หนึ่ง​ใน​หนังสือ​เล่ม​นี้​ว่า “การ​สอน​ใน​โรงเรียน​ที่แท้​จริง​นั้น ไม่​ต่าง​
กับก​ าร​สอน​ที่บ​ ้านม​ าก​นัก จะต​ ่าง​กันก​ ็​ตรงท​ ี่ว​ ่า วงแ​ ห่ง​ความส​ นใจก​ ว้าง​ขวาง​กว่าก​ ัน​เท่านั้น”

       หนังสือ​ทั้ง​สอง​เล่ม​นี้​ได้รับ​ความ​นิยม​และ​มี​อิทธิพล​อย่าง​มาก​ต่อ​การ​ปฐมวัย​ศึกษา​ทั้ง​ใน​ยุโรป​และ​
อเมริกาใ​ น​ระยะ​ต่อ​มา

       จาก​ที่​กล่าว​มา​สรุป​ได้​ว่า การ​ปฐมวัย​ศึกษา​เริ่ม​เกิด​ขึ้น​เมื่อ​ปลาย​ศตวรรษ​ที่ 15 จาก​นักการ​ศึกษา​
และน​ ัก​ปราชญ์ 3 คน คือ โค​เม​นิ​อุส รุสโ​ซ และ​เปสต​ าลอส​ ​ซี ที่​ได้​ให้ค​ วามส​ นใจ​ใน​การ​ศึกษา​ธรรมชาติ​และ​
การเ​รียนร​ ู้ข​ องเ​ด็กอ​ ย่างใ​กล้ช​ ิด และไ​ด้เ​สนอแ​ นวคิดท​ ี่ส​ ามารถน​ ำ�​มาป​ ระยุกต์ใ​ช้ใ​นก​ ารส​ อนเ​ด็กป​ ฐมวัยใ​นย​ ุค​
สมัยน​ ั้นแ​ ละพ​ ัฒนาเ​รื่อยม​ าจ​ นถึงป​ ัจจุบัน รวมถ​ ึงก​ ารใ​หค้​ วามส​ ำ�คัญข​ องบ​ ้าน ว่าเ​ป็นส​ ถานท​ ี่ท​ ี่ส​ ำ�คัญใ​นก​ ารใ​ห​้
ความ​รู้แ​ ละว​ างร​ ากฐานท​ างการ​ศึกษาใ​ห้​แก่​เด็ก​ปฐมวัย

เรื่องท​ ี่ 1.2.2 ระยะ​พัฒนา​ของ​การป​ ฐมวัยศ​ กึ ษาใ​น​ตา่ งป​ ระเทศ

       การ​จัดการ​ศึกษา​ใน​ระดับ​ปฐมวัย​ศึกษา​ใน​ต่าง​ประเทศ ได้​เริ่ม​ดำ�เนิน​การ​อย่าง​แท้จริง​ใน​ประเทศ​
เยอรมนี ต่อ​มาไ​ด้เ​ผยแ​ พร่ไ​ปย​ ัง​ประเทศต​ ่างๆ ในท​ วีป​ยุโรป สหรัฐอเมริกา และป​ ระเทศ ต่างๆ เกือบ​ทั่วโ​ลก

       สำ�หรับ​ใน​เรื่อง​นี้ จะ​กล่าว​ถึง​การ​จัดการ​ศึกษา​ระดับ​ปฐมวัย​ศึกษา​ของ​ต่าง​ประเทศ​ใน​ระยะ​พัฒนา​
โดยจ​ ะก​ ล่าว​ถึงป​ ระเด็น​ที่​สำ�คัญ​ดังนี้

       1.	 ระยะก​ ำ�เนิด​โรงเรียนอ​ นุบาลแ​ ห่งแ​ รก
       2.	 ระยะเ​ผย​แพร่​การจ​ ัดโ​รงเรียนอ​ นุบาล​ตามแ​ นว​คิดข​ องเ​ฟ​รอเ​บล
       3. 	 ระยะ​กำ�เนิด​โรงเรียนอ​ นุบาลแ​ ห่ง​แรก​ใน​สหรัฐอเมริกา
       4.	 ระยะก​ ำ�เนิด​โรงเรียนอ​ นุบาล​ตาม​แนวคิด​ของ​มอนเ​ตสซ​ อ​รี
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44