Page 55 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา หน่วยที่ 4
P. 55
รูปแบบของการจัดการศึกษาปฐมวัย 4-45
ขั้นพื้นฐานให้กับบุตรหลาน ซึ่งสามารถจัดการศึกษาปฐมวัยให้กับบุตรหลานของตนได้ทั้ง 3 รูปแบบ มูลนิธิ
เครอื ขา่ ยครอบครวั (2554) กลา่ วถงึ รปู แบบการจดั การศกึ ษาโดยครอบครวั วา่ มกี ารจดั การศกึ ษาทัง้ 3 รปู แบบ
คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งมีทั้งที่เป็นการจัดการศึกษา
รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง หรือทั้งสามรูปแบบผสมผสานกัน การจัดส่วนใหญ่จะมีลักษณะผสมผสานค่อนไป
ในทางเป็นการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ทั้งนี้เป็นไปตามรูปแบบการจัดการศึกษาที่แต่ละ
ครอบครัวเลือก และต้องเป็นไปตามกฎกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โดยครอบครัว พ.ศ. 2547
เพื่อให้เห็นภาพของการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัยนอกระบบของครอบครัว ในที่นี้จึงจะขอ
เสนอตัวอย่างการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัยนอกระบบของบ้านเรียนดวงตะวัน ซึ่งดำ�เนินการจัดการ
ศึกษาให้กับบุตรหลานของตนทั้งระดับปฐมวัยศึกษา และระดับประถมศึกษา ดังนี้ (สำ�นักงานเลขาธิการ
สภาการศึกษา 2549)
การบริหารจัดการศึกษาของบ้านเรียนดวงตะวัน
บ้านเรียนดวงตะวันมีการจัดการศึกษาทั้งระดับอนุบาลและประถมศึกษา โดยได้ขออนุญาตจัดการ
ศกึ ษาตามกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยสทิ ธใิ นการจดั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานโดยครอบครวั ในระดบั ประถมศกึ ษา จ�ำ นวน
4 ครอบครัวแล้วจึงมาจัดการศึกษาร่วมกัน
องค์ประกอบของการจัดกระบวนการเรียนรู้ของบ้านเรียน ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ 1) บุคลากร
(ผู้บริหารวิชาการ และครูซึ่งเป็นผู้อำ�นวยความสะดวก) 2) ผู้เรียนรู้ ซึ่งเน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3) หลักสูตร
ที่มีลักษณะเฉพาะของบ้านเรียนดวงตะวัน และ 4) สื่อ ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อบุคคล และ
แหล่งเรียนรู้
ผู้บริหารวิชาการ ประกอบด้วย พ่อแม่ของเด็กทุกครอบครัวร่วมมือกันในการดำ�เนินงานด้านต่างๆ
และมีการระดมความคิดในการจัดการศึกษาร่วมกัน โดยมีนายแพทย์เกรียงศักดิ์ ลาภจตุรพิธ เป็นผู้ประสาน
งาน
ครู การจดั การเรยี นรูข้ องบา้ นเรยี นจะเนน้ การสอนของครู ซึง่ ท�ำ หนา้ ทีเ่ ปน็ ผูอ้ �ำ นวยความสะดวกเปน็
หลักโดยให้นํ้าหนักถึงร้อยละ 90 และให้ครูมีอิสระสูงมาก โดยผู้จัดจะบอกแต่เพียงเป้าหมาย ครอบครัวบ้าน
เรยี นจะเนน้ และใหค้ วามสำ�คญั กบั การอบรมครเู ปน็ หลกั เพราะหากตอ้ งการใหเ้ ดก็ เกง่ ดี มคี วามสขุ กต็ อ้ งผา่ น
ครู โดยทำ�ให้ครูเก่ง ดี และมีสุขแล้วเด็กก็จะได้สิ่งที่ต้องการ โดยเห็นได้ชัดเจนจากเดิมที่ครูของบ้านเรียนยัง
ทำ�อะไรไม่เป็นก็เริ่มทำ�เป็น และสามารถดูแลเด็กให้มีความสุขได้ บ้านเรียนพยายามเริ่มต้นที่ครู และจูงใจครู
ให้เปลี่ยนแปลงตัวเอง โดยมุ่งให้ครูอยากพัฒนาตัวเองก่อน เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีให้เด็กๆ ตัวอย่างเช่น หาก
ครูไม่เป็นนักอ่านที่ดี ย่อมยากที่จะสร้างให้นักเรียนเป็นนักอ่านที่ดีได้ด้วย
ครูของบ้านเรียน นอกจากพ่อแม่ที่มีส่วนร่วมในการสอน 4 ท่าน ได้แก่ นายแพทย์เกรียงศักดิ์
ลาภจตุรพิธ นางสมใจ ลาภจตุรพิธ นายจำ�เริญ เรืองศรีอรัญ และนายกิตติกร วรรณพัฒน์ แล้ว บ้านเรียนยัง
มีครูช่วยสอน 2 คน และครูพิเศษสอนเปียโน 1 คน โดยครูผู้ช่วยสอนสำ�เร็จการศึกษาจากคณะวิทยาศาสตร์
สาขาคณิตศาสตร์ มีประสบการณ์การสอนที่โรงเรียนอนุบาลจิตเมตต์มาก่อน ทำ�หน้าที่สอนทุกวิชา ยกเว้น
วิชาการ