Page 59 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา หน่วยที่ 4
P. 59
รูปแบบของการจัดการศึกษาปฐมวัย 4-49
การจัดการเรียนรู้ จะไม่กำ�หนดกรอบเนื้อหาที่จะสอนเช่นเดียวกับการสอนในระบบโรงเรียน แต่จะ
เน้นให้เด็กเรียนรู้จากสถานการณ์และการปฏิบัติจริงรวมทั้งการแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่เป็นจริงได้ ตัวอย่าง
เชน่ การปลกู ขา้ ว โดยจดั พืน้ ทีใ่ นบา้ นเปน็ ทีน่ าขนาดเลก็ ใหเ้ ดก็ ไดเ้ รยี นรูก้ ารปลกู ขา้ ว ทกุ ขัน้ ตอนจากการปฏบิ ตั ิ
จริง ตั้งแต่การไถนา หว่านข้าว ปลูกกล้า จนกระทั่งเก็บเกี่ยวข้าว ซึ่งผลที่เกิดขึ้นนอกจากเด็กจะได้ความรู้
เกี่ยวกับการทำ�นาแล้ว ยังได้ลงมือปฏิบัติจริง และเห็นคุณค่าของการทำ�นาและการได้มาของข้าว รวมทั้งเกิด
ความภาคภูมิใจที่ได้ทำ�งานด้วยตนเองอีกด้วย
ที่มา: ส ำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2549) นวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์: บ้านเรียนดวงตะวัน กรุงเทพมหานคร ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด
ภาพพิมพ์
สรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้ของศูนย์เด็กก่อสร้างจะเป็นการสร้างหลักสูตรและกิจกรรมที่เหมาะกับ
ลกั ษณะของเดก็ ทีเ่ ขา้ มาเรยี นแตล่ ะกลมุ่ มคี วามยดื หยุน่ สงู ตอ้ งปรบั เปลยี่ นตามกลุม่ ของเดก็ ปฐมวยั ทีม่ คี วาม
แตกต่างกัน และหมุนเวียนกันเข้ามาในศูนย์เด็ก ส่วนครอบครัวที่จัดการศึกษาปฐมวัยนอกระบบเป็นการ
จัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตประจำ�วัน นอกจากการเรียนรู้จากตำ�รา และเนื้อหาวิชาการแล้ว เด็กยัง
เรียนรู้สิ่งต่างๆ จากการลงมือปฏิบัติกิจกรรมที่เป็นกิจวัตรประจำ�วัน การจัดการเรียนรู้จะไม่กำ�หนดกรอบ
เนือ้ หาทีจ่ ะสอนเชน่ เดยี วกบั การสอนในระบบโรงเรยี น แตจ่ ะเนน้ ใหเ้ ดก็ เรยี นรูจ้ ากสถานการณแ์ ละการปฏบิ ตั ิ
จริงรวมทั้งการแก้ปัญหาในสถานการณ์ที่เป็นจริงได้
หลังจากศึกษาเน้ือหาสาระตอนท่ี 4.3 แลว้ โปรดปฏิบตั กิ ิจกรรม 4.3
ในแนวการศึกษาหนว่ ยที่ 4 ตอนที่ 4.3