Page 64 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา หน่วยที่ 4
P. 64

4-54 หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษา

เรอื่ งที่ 4.4.2 การบริหารจัดการการศึกษาปฐมวยั ตามอธั ยาศยั

       การจัดการศึกษาปฐมวัยตามอัธยาศัยเป็นกระบวนการการศึกษาที่ก่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ สั่งสม
ความรู้ สั่งสมประสบการณ์จากแหล่งความรู้ต่างๆ ที่มีอยู่ทั่วไปในสังคม สิ่งแวดล้อม ไม่ต้องอาศัยองค์กร
ใดองค์กรหนึ่งมาบริหารจัดการอย่างมีโครงสร้างที่เป็นระเบียบแบบแผนแน่นอน ตายตัว (สมประสงค์
วิทยเกียรติ 2554: 5-33)

       สุชาติ วงศ์สุวรรณ และ ธนรัชฏ์ ศิริสวัสดิ์ (2551: 4-56-4-58) ได้กล่าวถึงการบริหารการศึกษาตาม
อธั ยาศยั ซึง่ ครอบคลมุ การบรหิ ารการศกึ ษาปฐมวยั ตามอธั ยาศยั วา่ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาจเกดิ จากความ
ไมต่ ัง้ ใจของผูเ้ รยี น ดงั นัน้ การบรหิ ารงานตามอธั ยาศยั จงึ มคี วามหลากหลาย ไมอ่ าจก�ำ หนดรปู แบบการบรหิ าร
ได้อย่างชัดเจน แต่อย่างไรก็ตามหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาตามอัธยาศัย คือ ศูนย์ส่งเสริม
การเรียนรู้ตามอัธยาศัย อำ�นาจหน้าที่ของศูนย์นี้มิได้เกี่ยวข้องกับการเข้าไปบริหารงานการจัดการศึกษาตาม
อัธยาศัย แต่มีหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุนการเรียนรู้ตามอัธยาศัยในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วย
ตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพ
แวดล้อม หรือแหล่งความรู้อื่นๆ ส่งเสริมสนับสนุน ประสานงานให้หน่วยงานภาครัฐ เอกชน องค์กร ชุมชน
และประชาชนดำ�เนินการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชนและสังคม ส่งเสริมและสนับสนุนและ
ดำ�เนินการพัฒนาบุคลากรที่รับผิดชอบการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยทั้งภาครัฐและเอกชน

       ในสว่ นของการบรหิ ารจดั การการศกึ ษาปฐมวยั ตามอธั ยาศยั ขอน�ำ เสนอการบรหิ ารจดั การการศกึ ษา
ปฐมวัยตามอัธยาศัยของหน่วยงานและบุคคลที่เกี่ยวข้องเป็น 2 ส่วน คือ การบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัย
ตามอัธยาศัยของสถานศึกษา และการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัยตามอัธยาศัยของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

1. 	การบริหารจัดการการศกึ ษาปฐมวยั ตามอธั ยาศยั ของสถานศึกษา

       ดว้ ยรปู แบบการเรยี นรูข้ องการศกึ ษาปฐมวยั ตามอธั ยาศยั เปน็ การเรยี นรูท้ ีอ่ าจจะเกดิ จากความตัง้ ใจ
หรอื ไมต่ ัง้ ใจ เปน็ การเรยี นรจู้ ากครอบครวั สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม และจากประสบการณใ์ นการด�ำ รงชวี ติ ประจ�ำ วนั
การได้รับความรู้อาจจะได้จากการสนทนา การสังเกต การเข้าร่วมในกิจกรรมการเล่น โดยที่กิจกรรมเหล่านี้
อาจไมไ่ ดเ้ กดิ ขึน้ หรอื มกี ารจดั ขึน้ เพือ่ วตั ถปุ ระสงคอ์ ยา่ งใดอยา่ งหนึง่ ทางการศกึ ษา แตจ่ ดั ขึน้ เพือ่ วตั ถปุ ระสงค์
อื่น แต่กลับทำ�ให้เด็กปฐมวัยได้รับความรู้โดยบังเอิญหรือไม่ตั้งใจ เด็กปฐมวัยอาจเรียนรู้คำ�ศัพท์ใหม่ๆ จาก
การพูดคุยกับเพื่อน กับคนในครอบครัว ได้เรียนรู้การทำ�อาหาร การดูแลบ้านเรือนจากการสังเกต และการ
ช่วยพ่อแม่ทำ�งานบ้าน หรืออาจเรียนรู้เรื่องของธรรมชาติ เรื่องราวทางประวัติศาสตร์จากการฟังเพลง หรือ
จากการชมภาพยนตร์

       ในการบริหารจัดการการศึกษาปฐมวัยตามอัธยาศัยของสถานศึกษาปฐมวัยในระบบ จึงเป็นการ
จัดการกับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย การสร้างแหล่งเรียนรู้ วัฒนธรรมการปฏิบัติที่
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69