Page 33 - การจัดและบริหารองค์การทางการศึกษา หน่วยที่ 7
P. 33
การบริหารกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 7-23
3) ช่วยให้นักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาและการประกอบอาชีพ ตลอด
จนสภาพสังคม และสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการดำ�เนินชีวิต
4) ช่วยให้นักเรยี นมีเป้าหมายชีวิต รู้จักวางแผนชีวติ การเรียน การงาน ที่เหมาะสมกบั ความ
ถนัด ความสนใจ และสภาพการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และเทคโนโลยี
5) ชว่ ยใหน้ กั เรยี นมคี วามสามารถแสวงหาขอ้ มลู และเลอื กใชข้ อ้ มลู สารสนเทศอยา่ งถกู ตอ้ ง
เหมาะสม
6) ช่วยให้นักเรียนรู้จักเลือกตัดสินใจและแก้ปัญหา รวมทั้งสามารถปรับตัวต่อสถานการณ์
ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตได้อย่างฉลาดและมีเหตุผล
7) ช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ มีคุณธรรม จริยธรรม และ
บุคลิกภาพที่ดี สามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสมกับวัย และอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข
8) ชว่ ยปอ้ งกนั นกั เรยี นไมใ่ หเ้ สยี หายจากการด�ำ เนนิ ชวี ติ เชน่ ปอ้ งกนั ปญั หาการเรยี น ปญั หา
ยาเสพติด ปัญหาการพนัน ปัญหาพฤติกรรมไร้ระเบียบ ฯลฯ
9) ช่วยเหลือนักเรียนในกรณีที่นักเรียนมีปัญหาเกิดขึ้นทั้งทางด้านการศึกษา เรื่องส่วนตัว
หรือสังคม โดยเน้นให้นักเรียนเข้าใจตนเอง และวิเคราะห์หาทางเลือกต่างๆ ในการแก้ปัญหาที่เหมาะสมกับ
ตนเอง
10) ช่วยให้นักเรียนรู้จักพัฒนาศักยภาพ และการใช้ศักยภาพของตนให้เป็นประโยชน์ต่อ
ตนเอง ครอบครัว สังคม ได้ตามสภาพของแต่ละบุคคล
2. ความสำ�คัญต่อครอบครัว กิจกรรมแนะแนวมีความสำ�คัญต่อครอบครัว ดังนี้
1) ช่วยให้ผู้ปกครอง และครอบครัวได้รับรู้และเข้าใจสถานภาพทางการเรียน ร่างกาย
อารมณ์ สังคม สติปัญญา วุฒิภาวะ คุณธรรม จริยธรรม และบุคลิกภาพของนักเรียน โดยมีโอกาสปรึกษา
หารือกับครู เพื่อช่วยเหลือให้นักเรียนมีพัฒนาการที่ดี สามารถเผชิญปัญหาและปรับตัวได้
2) ช่วยใหผ้ ู้ปกครองและครอบครัวได้รับขอ้ มูลเกี่ยวกับโอกาสที่นกั เรียนจะได้ศกึ ษาต่อตาม
ความสามารถ ความถนัด และความสนใจที่จะประกอบอาชีพในภายภาคหน้าต่อไป
3) ช่วยให้ผู้ปกครองและครอบครัวรับรู้และเข้าใจสภาพปัญหาของเด็กวัยรุ่นเพื่อจะได้ให้
ความร่วมมือกับโรงเรียนในการปรับปรุงพฤติกรรมของนักเรียนให้เหมาะสมต่อไป
4) ช่วยสร้างความเขา้ ใจทีด่ รี ะหว่างนกั เรยี นและผูป้ กครองนกั เรยี นสามารถพดู จาสื่อสารกบั
ครอบครัวได้ดี
3. ความสำ�คัญต่อโรงเรียน กิจกรรมแนะแนวมีความสำ�คัญต่อโรงเรียน ดังนี้
1) ช่วยให้ครูเข้าใจถึงปัญหาและสาเหตุของปัญหาของนักเรียนรวมทั้งช่วยหาวิธีแก้ปัญหา
นักเรียนตามความเหมาะสมของแต่ละบุคคลโดยคำ�นึงถึงความแตกต่างของนักเรียน
2) ช่วยให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมเสริมหลักสูตรให้สอดคล้องกับความ
ต้องการ ความถนัด และความสนใจของนักเรียน