Page 24 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาไทย
P. 24

9-14 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาไทย

เป็นสมบัติของชาติ และยังได้มีการกำ�หนดตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางไว้อย่างชัดเจน ดังตัวอย่าง
สาระการเรียนรู้แกนกลาง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ต่อไปนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ
2551: 45-50)

                           สาระการเรยี นรู้แกนกลางหลกั การใช้ภาษาไทย

          * พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ * เลขไทย * การสะกดคำ� การแจกลูก และการอ่านเป็นคำ� 
          * มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา และไม่ตรงตามมาตรา * การผันคำ� * การผันอักษร
          กลาง อักษรสูง และอักษรตํ่า * ความหมายของคำ� * คำ�ที่มีตัวการันต์ * คำ�ที่มีอักษรนำ�
          * คำ�ที่มีพยัญชนะควบกลํ้า * คำ�ที่มีความหมายตรงข้ามกัน * ภาษาไทยมาตรฐาน
          * ภาษาถิ่น * การใช้พจนานุกรม * คำ�ที่ประวิสรรชนีย์และคำ�ที่ไม่ประวิสรรชนีย์
          * คำ�ที่มี ฤ ฤๅ  * คำ�ที่มี รร * คำ�ที่ใช้ บัน บรร * คำ�ราชาศัพท์ * คำ�เป็นคำ�ตาย
          * คำ�พ้อง * ระดับภาษา  * คำ�คล้องจอง * กลอนสี่ * กาพย์ยานี ๑๑ * กลอนสุภาพ
          * คำ�ขวัญ * กลุ่มคำ�หรือวลี * การแต่งประโยค * ประโยคสามัญ * ประโยครวม
          * ประโยคซ้อน * ชนิดและหน้าที่ของคำ� (คำ�นาม คำ�สรรพนาม คำ�กริยา คำ�วิเศษณ์
          คำ�บุพบท คำ�เชื่อม คำ�อุทาน) * คำ�ที่มาจากภาษาต่างประเทศ คำ�ภาษาต่างประเทศที่ใช้
          ในภาษาไทย  * สำ�นวนที่เป็นคำ�พังเพยและสุภาษิต

       จากตัวอย่างสาระการเรียนรู้แกนกลางของสาระหลักการใช้ภาษาไทยที่ยกมา เป็นที่สังเกตได้ว่าการ
เรียนการสอนภาษาไทยยังคงมีสาระที่เกี่ยวกับหลักภาษาอยู่เช่นเดิมตั้งแต่ระดับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29