Page 27 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาไทย
P. 27

กลวิธีเพื่อการเรียนการสอนหลักการใช้ภาษาไทยในระดับประถมศึกษา 9-17

ภาษาไทย การฝึกพูดมกั จะคู่กับการฝึกฟังทัง้ ทีอ่ ยา่ งหนึ่งเป็นการส่งสารอีกอยา่ งหนึง่ เปน็ การรบั สาร สิง่ นีช้ ี้ให้
เหน็ วา่ การฝกึ ฝนเพือ่ พฒั นาทกั ษะทางการใชภ้ าษาเพือ่ การสือ่ สารนัน้ จะเปน็ ไปในลกั ษณะสมั พนั ธท์ กั ษะเสมอ

       การเขียนนับเป็นทักษะสำ�คัญและเป็นทักษะที่ต้องอาศัยหลักการทางภาษาในการเรียนรู้และฝึกฝน
มาก ตัง้ แตเ่ ริม่ ตน้ การเรยี นทกั ษะการเขยี น เชน่ การเขยี นค�ำ  การเขยี นประโยค การเขยี นยอ่ หนา้ เปน็ ตน้ ลว้ น
แล้วแต่ต้องมีหลักทางภาษาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยว คอยช่วยเหลือเสมอ การเขียนคำ� อย่างเช่น คำ�ที่สะกดตรง
ตามมาตราตัวสะกด และคำ�ที่ไม่สะกดตรงตามมาตราตัวสะกด คำ�อักษรควบ อักษรนำ� คำ�ภาษาต่างประเทศ
เรื่องของประโยค จะเป็นประโยคสามัญ ประโยครวม หรือประโยคซ้อน เนื้อหาเหล่านี้ล้วนแต่เป็นหลักการ
ทางภาษาที่ช่วยให้การพัฒนาทักษะการเขียนเป็นไปด้วยดี ส่งผลให้ผู้เรียนมีทักษะการเขียนที่มีประสิทธิภาพ

       ด้วยเหตุนี้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงให้ความสำ�คัญโดยสอด
แทรกสาระหลักการใช้ภาษา ไว้ในสาระที่เป็นทักษะการส่งสาร ทั้งการพูด การเขียนและการอ่านออกเสียง
ดังตัวอย่างที่จะยกมาให้เห็นต่อไปนี้

               หลักการใชภ้ าษาไทย                       ทักษะการสง่ สาร
                                                           การพดู
* 	การพูดแสดงความรู้ ความเข้าใจ ความคิดเห็น ความรู้สึก
* 	การพูดสื่อสารในชีวิตประจำ�วัน                           การเขียน
	 -	 การแนะนำ�ตนเอง
	 -	 การขอความช่วยเหลือ
	 -	 การกล่าวคำ�ขอบคุณ
	 -	 การกล่าวคำ�ขอโทษ
	 -	 การพูดขอร้องในโอกาสต่างๆ
	 -	 การเล่าประสบการณ์ในชีวิตประจำ�วัน
* 	การรายงาน เช่น
	 -	 การพูดลำ�ดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน
	 -	 การพูดลำ�ดับเหตุการณ์
* 	การพูดโน้มน้าวในสถานการณ์ต่างๆ
	 -	 การเลือกตั้งกรรมการนักเรียน
	 -	 การรณรงค์ด้านต่างๆ
	 - 	 การโต้วาที

* 	การเขียนตัวอักษรไทย
* 	การเขียนคำ� 
	 – 	 คำ�ที่ใช้ในชีวิตประจำ�วัน
	 - 	 คำ�พื้นฐานในบทเรียน
	 - 	 คำ�คล้องจอง
	 - 	 คำ�ขวัญ
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32