Page 37 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 37

การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้คณติ ศาสตร์โดยวธิ แี ก้ปญั หา 10-27

ยุทธวิธ​ีการจ​ �ำ แนก​ปัญหา​เปน็ ​กรณี​ย่อย

       ปญั หาค​ ณติ ศาสตรบ​์ างป​ ญั หาส​ ามารถแ​ กไ​้ ดง​้ า่ ยข​ ึน้ ถา้ ผ​ แู​้ กป​้ ญั หาท​ �ำ การว​ เิ คราะหป​์ ญั หาจ​ นเ​หน็ ร​ ะบบ​
บางป​ ระการ​ของ​ข้อมูล จนท​ ำ�ให้ส​ ามารถ​แยก​ปัญหา​เป็นก​ รณีย​ ่อยๆ แล้ว​ทำ�การ​แก้​ปัญหา​ย่อยๆ เหล่าน​ ั้น

  ปัญหา: รไ้​ู ด​อ้ ยา่ งไรว​ ่าเ​มอ่ื ไร​ผลลพั ธ​เ์ ป็นจ​ ำ�นวน​บวก​หรอื ​จำ�นวนล​ บ
          ใน​ช่ัวโมง​คณิตศาสตร์ เรื่อง​การ​คูณ​จำ�นวนเต็ม ช้ัน​มัธยมศึกษา​ปี​ที่ 1 นักเรียน​ถาม​ครู​ว่า

  (—x)(—y)(—z) = —xyz เป็น​จ�ำ นวนเตม็ ล​ บ​เสมอ จริงห​ รอื ไ​ม่ เมอื่ ​ให้ x, y และ z เปน็ ​จำ�นวน​เต็ม​ใดๆ ท่ีไ​มเ​่ ทา่ กับ​
  ศูนย์ ถา้ ท​ า่ นเ​ป็นค​ ร​คู นน​ ้ี ทา่ น​จะ​อธิบายน​ กั เรยี นอ​ ย่างไร

       สิ่งท​ ี่ก​ ำ�หนดใ​ห้ คือ x, y และ z เป็นจ​ ำ�นวนเ​ต็มใ​ดๆ ที่​ไม่เ​ท่ากับ​ศูนย์ แต่ละ​จำ�นวนเ​ป็นไ​ด้ 2 กรณี
คือ เป็นจ​ ำ�นวนบ​ วกห​ รือ​เป็นจ​ ำ�นวน​ลบ กรณีท​ ี่เ​ป็นไ​ป​ได้ท​ ั้งหมดม​ ี 8 กรณี แสดง​ผลลัพธ์​ที่เ​ป็นไ​ป​ได้​ทั้งหมด​
ของ (—x)(—y)(—z) = —xyz เมื่อ x, y และ z เป็น​จำ�นวนเ​ต็ม​ใดๆ ที่​ไม่​เท่ากับศ​ ูนย์ ดัง​ตาราง

            กรณี x y z -x -y -z (-x)(-y)(-z) = -xyz
             1 บวก บวก บวก ลบ ลบ ลบ 	 ลบ
             2 บวก บวก ลบ ลบ ลบ บวก 	 บวก
             3 บวก ลบ บวก ลบ บวก ลบ 	 บวก
             4 บวก ลบ ลบ ลบ บวก บวก 	 ลบ
             5 ลบ บวก บวก บวก ลบ ลบ 	 บวก
             6 ลบ บวก ลบ บวก ลบ บวก 	 ลบ
             7 ลบ ลบ บวก บวก บวก ลบ 	 ลบ
             8 ลบ ลบ ลบ บวก บวก บวก 	 บวก

       นักเรียนส​ ่วนม​ ากม​ คี​ วามเ​ข้าใจท​ ี่ค​ ลาดเ​คลื่อนว​ ่า ตัวแปรซ​ ึ่งแ​ ทนจ​ ำ�นวน ถ้าม​ เี​ครื่องหมายล​ บข​ ้างห​ น้า
ตัวแปร​นั้นต​ ้องแ​ ทนจ​ ำ�นวน​ลบเ​สมอ ซึ่ง​ไม่จ​ ริง

       ยุทธวิธี​การจ​ ำ�แนกป​ ัญหา​เป็นก​ รณี​ย่อย เหมาะ​สมก​ ับป​ ัญหาค​ ณิตศาสตร์​ซึ่งม​ ีล​ ักษณะ​ดังนี้ 	
       1) 	ปัญหา​สามารถแ​ ยก​เป็นก​ รณีต​ ่างๆ ได้​ชัดเจน 	 	 	 	 	
       2) 	ปัญหา​มัก​เกี่ยวข้อง​กับ​สมบัติ​ของ​จำ�นวน​ประเภท​ต่างๆ เช่น จำ�นวน​คู่ จำ�นวน​คี่ จำ�นวน​บวก
จำ�นวน​ลบ ศูนย์ จำ�นวน​ประกอบ จำ�นวน​เฉพาะ 						
       3) การ​วิเคราะห์ป​ ัญหา​อย่างเ​ป็น​ระบบ จะพ​ บก​ รณีเ​ฉพาะต​ ่างๆ และ​การแ​ ก้ป​ ัญหาก​ รณีเ​ฉพ​ าะ​นั้นๆ
นำ�​ไปส​ ู่ก​ ารส​ รุปอ​ ้างอิง​เป็น​กรณี​ทั่วไป​ได้
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42